พิธีมอบใบแต่งตั้งฐานานุกรมและพัดยศ
พระภาวนาวิริยคุณ รองเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย เป็นประธานมอบใบแต่งตั้งฐานานุกรมและพัดยศ ให้แด่พระภิกษุสงฆ์จากศูนย์สาขาต่างประเทศจำนวน 3 รูป
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๙ )
โจรนำของไปอยู่ย่อมถูกห้าม แต่สมณะนำไปกลับเป็นที่รัก สมณะมาหาบ่อยๆ บัณฑิตย่อมยินดีต้อนรับ
ภูมิของพระสกทาคามี
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมณะที่ ๒ เป็นไฉน ภิกษุในศาสนานี้เป็นสกิทาคามีเพราะสังโยชน์ ๓ สิ้นไป เพราะความที่ราคะ โทสะ และโมหะเบาบาง จะกลับมาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ก็จะทำที่สุดแห่งทุกข์ได้ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้คือสมณะที่ ๒ ในพระศาสนา
ภูมิของพระอนาคามี
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็สมณะที่ ๓ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในศาสนานี้ มีความสิ้นไปแห่งสังโยชน์เบื้องต่ำ ๕ อย่าง เป็นโอปปาติกะ ปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับมาจากโลกนั้น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อริยบุคคลนี้คือ สมณะที่ ๓ ในพุทธศาสนา
เครื่องจองจำ
เครื่องจองจำใด เกืดแต่เหล็ก เกิดแต่ไม้และเกิดแต่หญ้าปล้อง ผู้มีปัญญาทั้งหลาย หากกล่าวเครื่องจองจำนั้นว่าเป็นของมั่งคงไม่
มงคลที่ ๒๙ เห็นสมณะ - อานิสงส์การเห็นสมณะ
เมื่อลูกสาวเห็นว่า คุณพ่อมีศรัทธาเลื่อมใสในพระรัตนตรัย เธอจึงแนะนำให้พ่อแม่นิมนต์พระพุทธเจ้า พร้อมด้วยหมู่ภิกษุสงฆ์มาฉันภัตตาหารที่บ้าน คุณพ่อก็ทำตามแล้วได้ขอถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์เป็นสรณะ จากนั้นเธอก็ขออนุญาตออกบวช เนื่องจากสั่งสมบุญไว้มาก บวชได้ไม่นานนัก ได้บรรลุอรหัตตผลพร้อมด้วยปฏิสัมภิทาญาณ๔ เป็นพระอรหันตเถรี ผู้มีฤทธิ์มีเดชมีอานุภาพมาก
สามเณรนิโครธ (๑)
ผู้ใดเห็นภิกษุผู้ถึงพร้อมด้วยจรณะ ให้ท่านยืนอยู่เบื้องหน้า ประคองอัญชลีนมัสการแล้ว ผู้นั้นจะได้รับการสรรเสริญในปัจจุบัน เมื่อละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมไปสู่สุคติสวรรค์
ร่วมบุญจัดพิมพ์หนังสือเปิดพรมแดนโลกแห่งธรรม
หนังสือ "เปิดพรมแดนโลกแห่งธรรม" โดย พระมหาสมชาย ฐานวุฑโฒ M.D.,Ph.D. หนังสือที่รวบรวมแนวทางการดำเนินชีวิตโดยยึดหลักธรรมคำสอนและมุ่งเน้นอธิบายหลักสำคัญในพระพุทธศาสนาด้านต่างๆ
สามเณรนิโครธ (๒)
หากว่าบุคคลมีธรรมประดับแล้ว เป็นผู้สงบแล้ว ฝึกตนแล้ว เป็นคนเที่ยงตรง เป็นพรหมจารี เลิกอาชญากรรมในสัตว์ทั้งปวง พึงประพฤติธรรมสมํ่าเสมอ ผู้นั้นก็ชื่อว่าเป็นพราหมณ์ ผู้นั้นก็ชื่อว่า เป็นสมณะ ผู้นั้นก็ชื่อว่า เป็นภิกษุ
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - ให้บ่อยๆ รวยบ่อยๆ
ยาจกยังต้องขอบ่อยๆ ถ้าไม่ขอก็อด คำว่ายาจกคือคนขอทาน จะแตกต่างจากคำว่า สมณะ ซึ่งเป็นการขอแบบอริยะ ที่เป็นเนื้อนาบุญแก่ผู้ให้ทาน บุคคลสองประเภทนี้มีข้อวัตรปฏิบัติที่แตกต่างกันราวฟ้ากับดิน คุณธรรมก็ต่างกันเหมือน ก้อนกรวดเทียบกับภูเขา พวกยาจกจะขอด้วยการแสดงอาการอัน น่าสงสาร