ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 90
เมื่อเราประสบปัญหาของชีวิต ก็ควรอยู่ในศีลในธรรม แล้วค่อยๆ แก้ไขปัญหานั้นเป็นเรื่องๆ ไป ด้วยปัญญาอันชาญฉลาด ทำได้อย่างนี้ชีวิตก็จะมีแต่ความสุขความเจริญ ส่วนมโหสถบัณฑิตเมื่อได้ยศศักดิ์ยิ่งใหญ่แล้ว จะใช้ยศศักดิ์นั้นอย่างไร โปรดติดตาม
มงคลที่ ๑ ไม่คบคนพาล - อย่าคบคนพาล
ผู้มีปัญญา ไม่พึงคบคนชั่วเป็นมิตร ไม่พึงคบบุรุษผู้ต่ำทราม พึงคบหากัลยาณมิตร พึงคบบุรุษผู้สูงสุด เราทุกคนที่เกิดมาในโลกนี้ ต่างปรารถนาความสุขความเจริญ ปรารถนาให้สิ่งที่ดีงามที่เป็นมงคลเกิดขึ้นแก่ชีวิตของตนด้วยกันทั้งนั้น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงค้นพบว่า สิ่งที่เป็นมงคล คือ การบำเพ็ญบุญ อันจะเป็นเครื่องสนับสนุนให้เราบรรลุวัตถุประสงค์ของการเกิดมาเป็นมนุษย์
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๒ ( สืบหาบัณฑิต )
การที่เรากระทำสิ่งใดลงไปก็ตาม สิ่งนั้นสามารถส่งผลเชื่อมโยงถึงกันได้ ยิ่งปัจจุบัน เราอยู่ในยุคโลกาภิวัฒน์ ที่ข้อมูลข่าวสารถึงกันหมด หากเรากระทำสิ่งที่ไม่ดี ย่อมจะเกิดผลกระทบเสียหายต่อคนรอบข้างและคนทั้งโลก เหมือนไม้ขีดไฟก้านเดียวสามารถลุกลามเผาป่าเผาเมืองได้ แต่หากเรากระทำความดีแม้เพียงเล็กน้อย และแม้จะกระทำกันเพียงกลุ่มเล็กๆ แต่ก็สามารถขยายผลแห่งความดีไปทั่วโลกและจักรวาลได้
อานิสงส์ถวายรองเท้า
เราได้ถวายรองเท้าแด่พระพุทธเจ้า พระนามว่ากกุสันธะ ผู้เป็นปราชญ์ มีบาปอันลอยแล้ว อยู่จบพรหมจรรย์ ด้วยผลแห่งทานนั้น เราไม่เคยรู้จักทุคติเลย
วิธีแบ่งแยกบุคคล
บุคคลไม่ได้เป็นคนเลวเพราะชาติ ไม่ได้เป็นผู้ประเสริฐเพราะชาติกำเนิด แต่เป็นคนเลวทรามเพราะกรรม เป็นผู้ประเสริฐก็เพราะกรรมเท่านั้น
เวสสันดรชาดก ตอนที่ ๔ ( พระราชทานช้างมงคล )
เมื่อพราหมณ์ขอช้างได้แล้ว ก็พากันแห่ไปในใจกลางเมือง ครั้นมหาชนเห็นช้างมงคล ต่างถามว่า ท่านได้ช้างนี้มาจากไหน ทันทีที่รู้ว่าได้รับบริจาคมาจากพระเวสสันดร ต่างพากันวิพากษ์วิจารณ์ และโกรธพระโพธิสัตว์มาก ได้รวมตัวกันตั้งแต่คนที่มีชื่อเสียง พระราชบุตรจากทุกตระกูล พ่อค้า ชาวนา พราหมณ์ พากันมาชุมนุมร้องเรียนพระเจ้าสัญชัยว่า
ประมุกของผู้หวังบุญ
ยัญทั้งหลายมีการบูชาไฟเป็นประมุขคัมภีร์สาวิตศาสตร์ เป็นประมุขแห่งคัมภีร์ฉันทฺ์พระราชาเป็นประมุขของมนุษย์ทั้งหลายสาครเป็นประมุขของแม่น้ำทั้งหลาย
ความฝัน 16 ประการของพระเจ้าปเสนทิโกศล ตอนที่ 3
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ หม่อมฉันฝันว่ามีโคตัวผู้ที่มีสีเหมือนดอกอัญชันสี่ตัวกำลังวิ่งมาสู่ท้องพระลานหลวงจากทิศทั้งสี่ราวกับมันจะพุ่งชนใส่กัน
เวทัพพชาดก-ชาดกว่าด้วยโทษของการไม่รู้จักกาลเทศะ
พุทธกาลครั้งหนึ่งยังมีภิกษุชาวสาวัตถีรูปหนึ่ง มีความอวดดื้อถือดีจนเป็นที่เอือมระอาต่อภิกษุรูปอื่นๆ เมื่อพระพุทธองค์ทรงทราบท่านจึงทรงระลึกชาติด้วยบุพเพนิวาสานุสติญาณแล้วพบว่า ภิกษุรูปนี้เมื่อกาลก่อนก็เป็นผู้ว่ายากจนเป็นเหตุให้ตนเองและบุคคลเป็นพันๆ คน ต้องถึงแก่ความตาย
อนภิรติชาดก ชาดกว่าด้วยจิตขุ่นมัว ไม่ขุ่นมัว
ความสำเร็จในมรรคผล การบรรลุญาณสมาบัติของผู้ปฏิบัติกรรมฐานนั้น เกี่ยวข้องด้วยความสมถะสันโดษหลุดพ้นจากกิเลสอันอยากได้อยากมีเป็นอย่างยิ่ง ผู้ปฏิบัติภาวนา แม้สำเร็จญาณระดับใดแล้วก็ตาม แต่หากรับเอาอาสวะกิเลสเข้าจิตใจ แม้น้อยนิด ญาณวิเศษที่พากเพียรมา ก็จักเสื่อมลงถดถอยลงสิ้น