二番はいない7
ความสะอาดทำให้บรรลุธรรมได้อย่างไร
ความสะอาดไม่เพียงแต่จะพัฒนาคนให้ประสบความสำเร็จ ในหน้าที่การงาน ชื่อเสียงเกียรติยศเท่านั้น แม้ความสำเร็จอันสูงสุดในชีวิตคือการบรรลุธรรม ความสะอาด ก็สามารถพาเราไปถึงได้
ถึงพระรัตนตรัยได้ไปสวรรค์
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ครั้งนั้น พระวิปัสสีพุทธเจ้าผู้เสด็จหลีกออกเร้นอยู่ในที่ลับ ได้ทรงพระปริวิตกเช่นนี้ว่า โลกนี้ถึงความยาก ย่อมเกิด แก่ ตาย และเวียนตายเวียนเกิดไม่รู้จบ ก็บุคคลไม่รู้ชัดถึงอุบายเครื่องพ้นทุกข์ คือ ชราและมรณะ การพ้นทุกข์ คือชราและมรณะนี้ จักปรากฏแต่เมื่อไร
สมาธิช่วยทำให้ความจำดีได้จริงหรือ
ความจำของคนเราจะดีได้ต่อเมื่อธาตุในตัวบริสุทธิ์ ไม่แปรปรวน ฉะนั้นพอรักษาศีลมากเข้า นั่งสมาธิมากเข้า ธาตุในตัวจะบริสุทธิ์ไปตามลำดับ เราจึงสามารถจำเรื่องราวต่างๆ ได้ดีด้วย
กระแสแห่งกรรม (๒)
ภิกษุทั้งหลาย โลสกติสสะผู้นี้ ได้ประกอบกรรมคือ ความเป็นผู้มีลาภน้อย และความเป็นผู้ได้อริยธรรมของตนด้วยตนเอง เนื่องด้วยครั้งก่อนเธอกระทำอันตรายลาภของผู้อื่น จึงเป็นผู้มีลาภน้อย แต่เป็นผู้บรรลุอริยธรรมได้ด้วยผลที่บำเพ็ญวิปัสสนา คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
ภาวนา..ทางมาแห่งคุณสมบัติ
ภาวนา เป็นบุญอย่างหนึ่งในบุญกิริยาวัตถุ 10 ประการเรียกว่าภาวนามัย เป็นบุญที่ยิ่งใหญ่กว่าทานและศีล เพราะนำไปสู่หนทางมรรคผลนิพพานได้
95 ปี วิชชาธรรมกาย
คำว่า “ธรรมกาย” มีการพูดถึงมากขึ้นเรื่อยๆ ตั้งแต่เมื่อพระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน้ำภาษีเจริญ ได้ปฏิบัติธรรมเจริญสมาธิภาวนาจนได้บรรลุธรรมกาย เมื่อวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10 ปี พ.ศ. 2460 ณ วัดโบสถ์บน ต.บางคูเวียง อ.บางกรวย จ.นนทบุรี
ตามรอยมหาปูชนียาจารย์ ตอนที่ 2 วัดโบสถ์บนสถานที่บรรลุธรรม
วัดโบสถ์บน บางคูเวียง จังหวัดนนทบุรี เป็นสถานที่สำคัญ 1 ใน 6 แห่งที่เกี่ยวเนื่องกับพระเดชพระคุณหลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺสโร) ครูผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย พระผู้ปราบมาร
ปานียชาดก ชาดกว่าด้วยการทำบาปแล้วรังเกียจบาปที่ทำ
“ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ขึ้นชื่อว่ากิเลสเป็นของเล็กน้อยไม่มีเลย ธรรมดาว่าภิกษุต้องข่มกิเลสที่เกิดแล้วแล้วเสีย บัณฑิตครั้งก่อนเมื่อพระพุทธเจ้ายังไม่เสด็จอุบัติต่างก็ข่มกิเลสทั้งหลายเสียได้บรรลุปัจเจกพุทธญาณ ”
มงคลที่ ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงตรัสชมพระเถระทุกรูปว่า วาจาของพระเถระทุกรูปต่างเป็นสุภาษิตเหมือนกัน เพราะทุกรูปปฏิบัติได้ตามปฏิปทาที่ตนเองพูด จากนั้นพระองค์ทรงพยากรณ์ว่า...“ภิกษุในศาสนานี้กลับจากบิณฑบาต ฉันภัตตาหารเสร็จแล้ว นั่งขัดสมาธิ ตั้งกายตรง ดำรงสติมั่นเฉพาะหน้าว่า ตราบใดที่จิตของเรายังไม่หมดความถือมั่น ยังไม่หลุดพ้นจากกิเลส ตราบนั้นเราจะไม่ลุกจากที่เลย ดูก่อนสารีบุตร ป่าโคสิงคสาลวันจะพึงงดงามด้วยภิกษุเห็นปานนี้แล”