ติวเข้ม"ครูสอนปริยัติธรรม" เสริมเทคนิคการสอนสมัยใหม่
ปิดเยาวราชตักบาตร-แนะทางเลี่ยง
ทำอย่างไรจึงจะเป็นเศรษฐี
ถ้าให้เลือกระหว่างความรวยกับความจน แน่นอนที่หลายคนคงอยากเลือกที่จะรวย เพื่อจะได้มีทรัพย์ไว้จับจ่ายใช้สอยอย่างไม่ขาดมือ แต่จะทำอย่างไรเพื่อให้เราเป็นผู้ที่มีทรัพย์มาก
บททดสอบของการจะเป็นชาวพุทธ
ผมบอกเพื่อนว่า คุณครูไม่ใหญ่ให้บททดสอบผมเป็นเวลา 1เดือน ที่ผมจะต้องผ่านให้ได้จึงจะได้เป็นชาวพุทธ เพื่อนๆก็บอกว่า "เรามั่นใจว่าคุณสามารถผ่านได้" ซึ่งผมเองได้ตั้งใจจดทุกข้อทดสอบลงในสมุด ปรากฏว่าเพื่อนแต่ละคน เข้ามารุมขอดู บ้างก็บอกว่าง่าย บ้างก็บอกว่าเป็นสิ่งที่ดีนะ แล้วพวกเขาก็มาขอลอกข้อเหล่านั้นไปใส่สมุดของตัวเอง และเพื่อนชาวโซโลมอน อีก 8 คน บอกว่า เขาอยากขอเข้าร่วมบททดสอบอันนี้ด้วยได้ไหม
แพทย์เตือนภัยติดตั้งถังแก๊สในรถเหมือนพกระเบิด3พันปอนด์
สำนักต่างประเทศ วัดพระธรรมกาย และ กอง AEC ทอดกฐินสมทบ ที่ประเทศเวียดนาม
สำนักต่างประเทศ วัดพระธรรมกาย และ กอง AEC ร่วมทอดกฐินสมทบ ที่ประเทศเวียดนาม
ความสุขความสงบได้ควบแน่นเป็นหนึ่งเดียว
ผมภาวนาให้มีโอกาสได้ทำข่าวดีๆ ในประเทศนี้สักครั้ง แต่ดูเหมือนว่าทุกข่าวจะเป็นข่าวร้ายไปแล้วทั้งสิ้น ยิ่งได้เห็นสภาพความทุกข์ยากด้วยตนเอง ทำให้ผมคิดว่าจะเป็นคนขาวหรือคนดำก็มีความทุกข์ไม่แตกต่างกัน น่าสงสารเหมือนกัน คนหนึ่งมีทุกข์เพราะถูกจ้องปองร้าย ส่วนอีกคนทุกข์เพราะไฟแค้นสุมอก คอยเผาทำร้ายตัวเองอยู่ตลอดเวลา ไม่รู้ว่าเมื่อไรจะสิ้นสุด
เป็น อยู่ คือ...วิถีชาวเขมร
เป็น อยู่ คือ.... วิถีชาวเขมร ในอดีตนั้นชนชาติที่อาศัยอยู่ในดินแดนนี้คือขอม ต่อมาเรียกว่าเขมรจนเป็นกัมพูชาเช่นปัจจุบัน ประชากรที่อาศัยในกัมพูชาส่วนมากเป็นชาวกัมพูชาร้อยละ 96 นอกจากนั้นเป็นชาวเวียดนาม จีน และอื่นๆ
เป็น อยู่ คือ... วิถีชาวบรูไน
เป็น อยู่ คือ... วิถีชาวบรูไน บรูไนเป็นประเทศมุสลิม จัดระเบียบสังคมตามข้อบัญญัติของศาสนาอย่างเคร่งครัด วิถีการดำเนินชีวิตของประชากรจึงเป็นไปตามหลักศาสนาอิสลาม ด้านความเป็นอยู่นั้นสะดวกสบาย เนื่องจากเป็นประเทศที่ร่ำรวย รัฐมีเงินดูแลประชากรในเรื่องปัจจัยพื้นฐานเป็นอย่างดี คนบรูไนส่วนใหญ่จึงไม่มีปัญหาทางเศรษฐกิจนัก และส่วนใหญ่มีรถส่วนตัวใช้
สัมมา อะระหัง ตอน ระงับเจ็บจากการผ่าตัดปอด
“จนกระทั่งวันหนึ่งพระอาจารย์มาเปิดเรื่องของคุณหมอ ‘สัมมา อะระหัง’ 500 ครั้ง ในขณะที่ฟังบรรยายธรรมของพระอาจารย์ไป ก็ตรึกเข้ากลางไป ‘สัมมา อะระหัง หนึ่ง’ ‘สัมมา อะระหัง สอง’ จนถึง ‘สัมมา อะระหัง หนึ่งร้อยแปด’ นิ่งมากเลยค่ะ เสียงของพระอาจารย์ท่านเข้าไปในกลางตลอดแล้วไม่ปวดแผล เหมือนกับเราไม่ได้เป็นอะไรเลย