ขอเชิญพุทธศาสนิกชนร่วมสวดมนต์ออนไลน์ วันอาทิตย์ที่ 31 มกราคม พ.ศ.2564
ขอเชิญพุทธศาสนิกชนร่วมสวดมนต์ออนไลน์ ผ่านระบบ ZOOM เพื่อความเป็นสิริมงคล รวมบุญรวมใจ ต้านภัยโควิด-19 วันอาทิตย์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2564 เริ่มเวลา 18.20 น.
ผู้นำแสงสว่างสู่ชาวกรีก
หลังจากพบ DMC และได้นั่งสมาธิ แม้ลูกจะยังไม่มีโอกาสมาที่วัดพระธรรมกายเลย แต่ลูกกลับมีความรู้สึกอย่างแรงกล้าว่า "จะต้องชวนให้คนอื่นๆ รู้จักการนั่งสมาธิให้ได้"
อัศจรรย์คุณของพระรัตนตรัย และอานุภาพแห่งศีลของอุบาสิกาแก้ว
จดหมายจากอุบาสิกาแก้วสืบเนื่อง ดีใจ
เหตุการณ์ในช่วงปลายพุทธกาลที่นำไปสู่การเกิดนิกายเถรวาท
มูลเหตุของความแตกแยกตั้งแต่สมัยปลายพุทธกาลจนถึงการสังคายนาครั้งที่ 1 2 และ 3
การเตรียมตัวเข้าอบรมโครงการอุปสมบทหมู่
การเตรียมตัวเข้าอบรมโครงการอุปสมบทหมู่ การท่องคำขานนาค รักษาศีล 8 การเตรียมความพร้อมก่อนบวช
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 111
ราชสำนักทุกแคว้นทั่วชมพูทวีปก็ได้มี คนของมโหสถแฝงเข้าไปรวมอยู่ในหมู่อำมาตย์ของทุกๆพระนคร ช่วยเป็นหูเป็นตาแทนมโหสถบัณฑิต ฉะนั้น ไม่ว่าจะเกิดเหตุการณ์สำคัญใดๆในชมพูทวีป เหตุการณ์เหล่านั้นทั้งหมดก็ไม่อาจรอดพ้นสายตาของมโหสถบัณฑิต ผู้สำเร็จราชการแห่งมิถิลานครไปได้เลย
บทสวดมนต์ข้ามปี รวมบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปี รวมบทสวดมนต์ข้ามปี มีบทอะไรบ้างมาติดตามกัน
หัวหงอกเผาหัวดำ
เรื่องราวชีวิตจริงของผู้หญิงคนหนึ่ง...เนื่องจากเธอต้องเสียแม่ผู้เป็นเหมือนเสาหลักในการหาเลี้ยงครอบครัวไป เพราะพ่อเอาแต่เล่นการพนัน...เมื่อพ่อมีภรรยาใหม่ ทำให้ลูกๆต้องออกจากโรงเรียน เธอได้ตัดสินใจ มีครอบครัวตั้งแต่อายุเพียง 18-19 ปี...ชีวิตของเธอยิ่งเลวร้ายไปกว่าเดิม เพราะเธอต้องทำงานหนัก สามีก็เจ้าชู้ เป็นที่พึ่งไม่ได้ เธอตัดสินใจไปทำงานที่ประเทศในตะวันออกกลาง เพื่อหาเงินมาเลี้ยงดูลูก แต่ก็มีเหตุให้นายจ้างไม่จ่ายค่าจ้าง กลับมาประเทศไทยเหลือเงินติดตัวไม่ถึง 300 บาท...ทำไม เธอจึงเกิดมามีชีวิตที่ลำบากเช่นนี้...ที่นี่...มีคำตอบ...
คำขอบวช แบบเอสาหัง
คำขอบวช แบบเอสาหัง วิธีอุปสมบทแบบเอสาหัง บทสวด พิธีบวชแบบธรรมยุต (เอสาหัง) ขั้นตอนและบทที่ต้องท่องจำใช้ในพิธีบวชแบบธรรมยุต (เอสาหัง)
พิธีอุปสมบท ลำดับขั้นตอนการอุปสมบท
อุปสมบท แปลว่า การเข้าถึง คือการบวช เป็นศัพท์เฉพาะในพระพุทธศาสนา อุปสมบท ปัจจุบันใช้หมายถึงการบวชเป็นภิกษุและภิกษุณี เรียกเต็มว่า อุปสมบทกรรม หรือ อุปสัมปทา คู่กับคำว่า บรรพชา ซึ่งหมายถึงการบวชเป็นสามเณร