มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - ผลของการให้ด้วยความเคารพ
อุตตรมาณพ ผู้เป็นบ่าวของกระผม ทำทานด้วยความเคารพ ให้ด้วยมือของตนเอง ด้วยกิริยานอบน้อม เขาจึงมีวิมานสว่างไสวในดาวดึงส์ ส่วนกระผมเองผู้เป็นเจ้าของทรัพย์ อุตส่าห์สละทรัพย์สินเป็นจำนวนมาก แต่เหตุใดกลับมาบังเกิดเพียงสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา อีกทั้งมีรัศมีและอานุภาพน้อยกว่าอุตตรมาณพอีกด้วย
มงคลที่ ๒๐ สำรวมจากการดื่มน้ำเมา - เลิกอบายมุข พบสุขที่แท้จริง
ทันทีที่พระสาคตะเดินมาบิณฑบาต แต่ละครัวเรือนต่างพากันกล่าวเชื้อเชิญให้ดื่มน้ำสุราชั้นเลิศ พระสาคตะไม่อยากขัดศรัทธา จึงดื่มสุราจากทุกๆ ครัวเรือนที่เขาถวาย เมื่อดื่มมากเข้า ก็เริ่มเมาประคองสติไม่อยู่ เมื่อจะเดินออกนอกเมืองเพื่อกลับวัด ก็เดินโซเซไปมา แล้วล้มกลิ้งเกลือกลงบนพื้นถนน บาตรและอาหารที่บิณฑบาตได้มา กระจัดกระจายไปคนละทิศละทาง ขณะนั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จออกจากเมือง
มงคลที่ ๓๗ - จิตปราศจากธุลี - อยุ่ที่ไหนก็ได้ถ้าใจหยุด
มหาอุบาสิกาวิสาขาคิดว่า คำตอบของพระคุณเจ้าไม่ตรงกัน ต้องมีเหตุอะไรเกิดขึ้นเป็นแน่ จึงได้กราบทูลเรื่องนี้ต่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระพุทธองค์ตรัสว่า "ดูก่อนวิสาขา พระอรหันต์ทั้งหลายจะอยู่ ณ ที่ใด จะเป็นบ้านหรือป่า ที่ลุ่มหรือที่ดอน สถานที่นั้นย่อมเป็นสถานที่อันน่ารื่นรมย์"
โทษของการทำปาณาติบาต
คนพาลผู้มีปัญญาทราม ย่อมประพฤติกับตนเองดังศัตรู ย่อมทำกรรมชั่วที่มีผลเผ็ดร้อน บุคคลทำกรรมใดแล้ว ย่อมเดือดร้อนภายหลัง มีหน้านองด้วยน้ำตา ร้องไห้อยู่ เสวยผลแห่งกรรมใด กรรมนั้นทำแล้ว ไม่ดีเลย
ภูมิของพระอนาคามี
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็สมณะที่ ๓ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในศาสนานี้ มีความสิ้นไปแห่งสังโยชน์เบื้องต่ำ ๕ อย่าง เป็นโอปปาติกะ ปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับมาจากโลกนั้น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อริยบุคคลนี้คือ สมณะที่ ๓ ในพุทธศาสนา
พระอัญญาโกณฑัญญะ ผู้รัตตัญญู (๑)
ภิกษุผู้สันโดษ ย่อมเป็นผู้อยู่เป็นสุขในทิศทั้ง ๔ และเป็นผู้ไม่หงุดหงิด สันโดษด้วยปัจจัยตามมีตามได้ ครอบงำอันตรายทั้งหลาย ไม่หวาดเสียว เทียวไปคนเดียวดังนอแรด
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - มหาทาน คือ เสบียงสู่ความหลุดพ้น
วันหนึ่งพระเจ้าเภรุวมหาราชทอดพระเนตรโรงทานของพระองค์ ทรงดำริว่า ปฏิคาหก ผู้รับทานของเรานี้ ล้วนเป็นผู้ทุศีล บริโภคทานแล้วไม่ทำให้จิตใจของทายกยินดีเลย ทำอย่างไรหนอเราจึงจะได้เนื้อนาบุญ เราปรารถนาจะถวายทานกับพระปัจเจกพุทธเจ้า
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - ชิตัง เม... เราชนะแล้ว
ยามใดที่เราพรั่งพร้อมด้วยโภคทรัพย์สมบัติ มีศรัทธา พบเนื้อนาบุญยามนั้นเราย่อมสร้างบารมีได้อย่างสะดวกสบาย แต่ยามใดที่เราไม่มีไทยธรรมหรือโภคทรัพย์สมบัติ แม้จะมีศรัทธา มีเนื้อนาบุญ เราก็ไม่อาจจะให้ทานได้ กว่าจะสร้างบารมีอื่นๆ ได้แต่ละอย่าง ก็แสนจะลำบาก เพราะฉะนั้นทานบารมีจึงเป็นสิ่งที่สำคัญของนักสร้างบารมี
มงคลที่ ๒๕ มีความกตัญญู - บุญคุณต้องทดแทน
พระกุมารคิดว่า ถ้าเราได้เป็นกษัตริย์แล้ว จะฆ่าพระฤๅษีองค์นี้ให้ได้ จึง กล่าวว่า พระคุณเจ้าผู้เจริญ เมื่อกระผมได้ครองราชสมบัติแล้ว ขอให้ท่านไปหากระผม กระผมจะบำรุงอุปัฏฐากรับใช้ท่านอย่างไม่ให้ขาดตกบกพร่องเลย แล้วก็ลากลับเมือง เมื่อพระกุมารกลับเข้าพระนครไม่นาน ก็ทรง ขึ้นครองราชย์ต่อจากพระราชบิดา
อานิสงส์บูชาด้วยดอกมะลิ ๗ ดอก
เราได้ถวายดอกมะลิแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามว่า สิทธัตถะ เพียงแค่ ๗ ดอกเท่านั้น ด้วยการโปรยมะลิลงที่ใกล้พระบาทด้วยความปีติโสมนัส ด้วยบุญกรรมนั้น ส่งผลให้เราได้ครอบงำทั้งนรชนและเทวดาทั้งหลาย ได้บรรลุธรรมในภพชาติสุดท้าย