อานิสงส์ถวายเครื่องอัฏฐบริขาร
มหาสมุทรไม่อิ่มด้วยน้ำที่ไหลมาจากทุกทิศทุกทาง ไฟไม่อิ่มด้วยเชื้อ พระราชาไม่ทรงอิ่มด้วยราชสมบัติ คนพาลไม่อิ่มด้วยบาป หญิงไม่อิ่มด้วยของ ๓ อย่าง คือ เมถุนธรรม เครื่องประดับ และการคลอดบุตร พราหมณ์ไม่อิ่มด้วยมนต์ ผู้ได้ฌานไม่อิ่มด้วยวิหารสมาบัติ คือการเข้าฌาน พระเสขะไม่อิ่มด้วยการสละออกในการให้ทาน
Bisley Primary School นิมนต์พระอาจารย์วัดพระธรรมกายลอนดอน ไปสอนวิชาพระพุทธศาสนา
พระอาจารย์จากวัดพระธรรมกายลอนดอน ประเทศอังกฤษ ได้รับนิมนต์จากโรงเรียนประถมศึกษาบิสรีย์ (Bisley Primary School) ให้ไปสอนวิชาพระพุทธศาสนาแก่เด็กนักเรียน
วัดพระธรรมกายเดนมาร์กจัดโครงการ The Middle Way
สาธุชนชาวเดนมาร์กและชาวไทย สนใจเข้าร่วมโครงการ The Middle Way ที่ทางวัดพระธรรมกายเดนมาร์กได้จัดขึ้น
โครงการสอบตอบปัญหาธรรมะ “ทางก้าวหน้า” ครั้งที่ 41
ชมรมพุทธศาสตร์สากล จัดสอบโครงการสอบตอบปัญหาธรรมะ “ทางก้าวหน้า” ครั้งที่ 41 รอบชิงชนะเลิศระดับจังหวัดและระดับภาค ณ ศูนย์สอบประจำอำเภอทั่วประเทศ
พระพุทธคุณ ตอน สมบูรณ์ด้วยวิชชาและจรณะ
พระองค์ทรงเป็นที่พึ่งของผู้ไร้ที่พึ่ง ทรงประทานความไม่มีภัยแก่เหล่าชนผู้มีความกลัว ทรงเป็นที่คุ้นเคยของผู้มีภูมิธรรมสงบ ทรงเป็นที่พึ่งที่ระลึกของผู้แสวงหาที่พึ่งที่ระลึก
จงดับทุกข์ด้วยการรักษาจิตให้มั่นคง
ความจริง ความสุขในชีวิตนั้นหาไม่ยาก ถ้าหากรู้ จักระวังรักษาจิตให้ดี โดยมิให้ยึดเกาะ หรือ ยอมตกเป็นทาสกิเบสตัณหาอารมณ์ต่างๆ
วัดป่าธรรมกายนานาชาติโทชิหงิ จัดปฏิบัติธรรมสุดสัปดาห์
วัดป่าธรรมกายนานาชาติโทชิหงิ ประเทศญี่ปุ่น ได้จัดปฏิบัติธรรมสุดสัปดาห์ให้กับชาวญี่ปุ่น
มูลกรรมฐาน กรรมฐานบทแรกของภิกษุผู้บวชใหม่ "เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ"
มูลกรรมฐาน คืออะไร มีความสำคัญประการใด ทำไมพระอุปัชฌาย์ทุกองค์จะต้องบอกมูลกรรมฐานแก่ภิกษุผู้บวชใหม่ทุกครั้ง ... มาหาความรู้กันได้ที่นี่ค่ะ "เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ"
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - ทาน คือ ชีวิต
อย่างไรก็ตาม ตายเร็วตายช้าก็ไม่ได้เป็นเครื่องวัดความมีโชคดีที่ได้เกิดมาเป็นมนุษย์ ต้องดูตัดสินขณะที่ยังมีชีวิตอยู่ว่าได้สั่งสมบุญกุศลใดบ้าง และมองไหลไปถึงชีวิตหลังความตายได้ว่า ตายแล้วไปไหน มีสุคติหรือทุคติเป็นที่ไป เมื่อเข้าใจเช่นนี้แล้ว ต้องไม่ประมาทในวัยและชีวิต ด้วยการหมั่นหาโอกาสสั่งสมบุญให้มากที่สุด ก่อนที่ความตายจะมาถึง
มงคลที่ ๒๘ เป็นคนว่าง่าย - การฝึกตน บนเส้นทางอริยะ
ในสมัยพุทธกาล พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสถามครูฝึกม้าชื่อ เกสี ที่ไปเข้าเฝ้าพระองค์ว่า “ดูก่อนเกสี ใครๆก็รู้ว่าท่านเป็นครูฝึกม้าฝีมือดีคนหนึ่ง ท่านฝึกม้าอย่างไรเล่า” นายเกสีกราบทูลว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ การฝึกม้าของข้าพระองค์มี ๓วิธี คือ วิธีแรก ข้าพระองค์จะฝึกด้วยวิธีละม่อม ค่อยเป็นค่อยไป วิธีที่สอง ฝึกด้วยวิธีรุนแรง และวิธีสุดท้ายฝึกผสมกันทั้งสองวิธี”