ความสำคัญของวันอาสาฬหบูชา
‘วันอาสาฬหบูชา’ เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เป็นวันที่พระพุทธเจ้าได้ทรงประกาศพระพุทธศาสนาเป็นครั้งแรก ตรงกับวันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๘
สัมมา อะระหัง กับความหมายของคำภาวนา
ความหมายของคำว่า.. “สัมมา อะระหัง” คำว่า “สัมมา อะระหัง” เป็นภาษาบาลี มีศัพท์ควบคู่กันอยู่ 2 ศัพท์ คือ “สัมมา” และ “อะระหัง
วิสาขบูชา วันสำคัญของชาวโลก
คนทั่วไปมองว่า วันวิสาขบูชาซึ่งเป็นวันที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพานเป็นวันพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งก็ถูก แต่ถ้าจะให้เกิดประโยชน์แก่ตัวเราจริง ๆ วันวิสาขบูชาควรเป็นวันที่เราพิจารณาตัวเองว่า ขณะนี้เรากำลังดำเนินชีวิตไปในเส้นทางใด แล้วเส้นทางนั้นจะนำเราไปสุคติโลกสวรรค์หรือไปอบายการตรวจสอบว่า เรากำลังเดินถูกทางหรือไม่
ความทุกข์นั้นมีอยู่ แต่ไม่มีใครที่เป็นทุกข์
ดื่มของที่มีแอลกอฮอล์เล็กน้อยเพื่อประโยชน์ของร่างกายผิดศีลหรือไม่
เหล้าที่ใช้เป็นกระสายยา ก็ต้องระวังอย่าให้กลายเป็นเอายามาเป็นกระสายเหล้า แต่ไม่ว่าจะกินอย่างไร เราก็ต้องเลี่ยงต่อการติดเหล้า
สัมมา อะระหัง" คือ เนื้อมนต์วิเศษโดยแท้
บางคนจากที่เคยพบอุปสรรคทำอะไรติด ๆ ขัด ๆก็ราบรื่นขึ้น จะทำมาค้าขายก็ร่ำรวยขึ้นซึ่งเกิดจากอานุภาพบารมีธรรมที่หลวงปู่ท่านปกป้องคุ้มครองและกลั่นแก้ให้ประกอบกับอานุภาพของเนื้อมนต์ คือ การภาวนา ‘สัมมา อะระหัง’ ควบคู่กันไปด้วยนั่นเอง
โครงการสมาธิแก้วรุ่นที่ 43เรียนรู้ฐานขัดวิมาร
โครงการสมาธิแก้วรุ่นที่ 43 จัดกิจกรรมเรียนรู้การทำความสะอาดขัดวิมาน ผ่าน 5 ห้องชีวิตเนรมิตนิสัย ณ สภาธรรมกายสากล วัดพระธรรมกาย จังหวัดปทุมธานี ผู้เข้าร่วมโครงการสมาธิแก้วรุ่นที่43 จำนวน77คน ได้ร่วมกิจกรรมเรียนรู้ร่วมกันในการทำความสะอาดขัดวิมาน
วันอาสาฬหบูชา 2567 ประวัติความเป็นมาความสำคัญและธรรมเนียมปฏิบัติ
วันอาสาฬหบูชา 2567 ตรงกับวันเสาร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ.2567 วันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญวันหนึ่งของพระพุทธศาสนา ตรงกับวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 ในสมัยพุทธกาลมีเหตุการณ์สำคัญเกิดขึ้น 4 ประการ
การปฏิบัติเพื่อฝึกใจตามเส้นทางสายกลาง
ในธัมมจักกัปปวัตนสูตรอันเป็นพระสูตรที่กล่าวถึงปฐมเทศนาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงกล่าวถึง มัชฌิมาปฏิปทา หรือ ทางสายกลาง ซึ่งเป็นหนทางหรือข้อปฏิบัติที่ไม่ตึงเกินไปจนเป็นความลำบากแก่ตน (อัตตกิลมถานุโยค) ไม่หย่อนเกินไปจนเป็นการพอกพูนกามกิเลส(กามสุขัลลิกานุโยค) ...
ไม่เบียดเบียนคนอื่นด้วยความคิด
คำถาม : การที่หนูไม่เบียดเบียนคนอื่นด้วยความคิด เป็นการทำบุญอย่างหนึ่งหรือเปล่าคะ?