ปรโลกนิวส์ กัลฯ พล.อ.อ.วีระวุธ ตอนที่ 2
ต่อจากตอนที่แล้ว.....สำหรับบุพกรรมที่ทำให้คุณอาต้องมาป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งที่ลำคอนั้น ทั้งนี้ก็เป็นเพราะวิบากกรรมที่คุณอาได้เคยทำผิดทำพลาดเอาไว้ในพุทธันดรที่ผ่านมาได้ช่องตามมาส่งผล เรื่องก็มีอยู่ว่า...
อย่าตายฟรี ๆ
เวลาในแต่ละวันผ่านไปเร็วมาก เดี๋ยววัน เดี๋ยวคืนเผลอประเดี๋ยวเดียวก็ผ่านไปเป็นสิบ ๆ ปี ซึ่งคนส่วนใหญ่มักจะได้คิด หรือมีเวลาหยุดคิด ก็ตอนเจอมรสุมของชีวิตตอนหมดเรี่ยวหมดแรง ตอนแก่ ตอนป่วย หรือคิดได้ตอนใกล้จะตาย
I can’t respect monks, can I?
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 191
การกลับมาสู่ปัญจาลนครของมโหสถในครั้งนี้ สร้างความไม่พอพระทัยให้กับพระนางนันทาเทวีเป็นอันมาก เพราะตอนที่พระนางเคยถูกคนของมโหสถจับกุมตัวไปยังมิถิลานคร แม้จะล่วงเลยมานานกว่าสิบปีแล้ว แต่ภาพเหล่านั้นก็ยังฉายชัดอยู่ในพระหทัย พระนางจึงทรงผูกพระทัยเจ็บฝังแน่นในพระหทัยตลอดมา ทรงหาโอกาสที่จะทำลายมโหสถเสียให้ได้
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - แม้เป็นคนดี ก็ไม่ควรประมาท
รุ่งขึ้น พระราชาให้นำไหขนาดใหญ่บรรจุคูถจนเต็ม เอาใบตองมาผูกปากไหไว้ ให้ไปตั้งเรียงกัน ใส่น้ำมันยาง ต้นกากะทิง และหนามงิ้วหนาๆ จนเต็มหม้อ วางไว้หัวบันได ทรงให้พวกนักมวยร่างใหญ่ ถือค้อนยืนอยู่ใกล้ๆ หัวบันได จากนั้นพระองค์ทรงรอคอยด้วยความอาฆาตแค้นที่สุมแน่นอยู่ในอก
คำว่าอจินไตยหมายถึงอะไร ?
อจินไตย แปลว่า เรื่องที่ไม่ควรคิด เพราะเกินภูมิปัญญาของมนุษย์ที่จะใช้ความคิดปกติไปคิดได้ คิดแล้วจะมีส่วนแห่งความเป็นบ้าการตั้งประเด็นปัญหา รวบรวมข้อมูล ทดลองวิจัย สุดท้ายก็สรุป ใช้ไม่ได้กับเรื่องอจินไตย
วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๔)
มนุษย์ต่างเสาะแสวงหาความรู้ต่างๆ จากตำรับตำราบ้าง จากประสบการณ์ของคนรุ่นก่อน ผนวกกับประสบการณ์ของตัวเองบ้าง
นิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง
ความหิวเป็นโรคอย่างยิ่ง สังขารทั้งหลายเป็นทุกข์อย่างยิ่ง บัณฑิตทราบเนื้อความนั้นตามความจริงแล้ว พึงกระทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน เพราะพระนิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - ของแท้ของเทียม
วันรุ่งขึ้น เมื่อนิครนถ์ ๕๐๐ คน มาถึง สิริคุตต์ออกไปต้อนรับ พลางนึกในใจว่า "หากนิครนถ์เหล่านี้เป็นผู้รู้จริง จงอย่าเข้ามาในเรือน เพราะในเรือนนี้ไม่มีภัตตาหาร มีแต่หลุมคูถ"
เราคือ..ผู้ออกแบบชีวิต
การที่เรามองโลกด้วยมุมมองแตกต่างกัน เป็นเพราะเราเกิดมาแตกต่างกัน ได้สัมผัสโลกในแง่มุมที่ต่างกัน และมีประสบการณ์ในโลกนี้ต่างกัน ซึ่งในทางพระพุทธศาสนาระบุว่า “กรรม”เป็นตัวกำหนดความแตกต่างเหล่านี้