ชีวิตสุขสบายดังอยู่ในสรวงสวรรค์ - พุทธประวัติ
พุทธประวัติ พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน
อธิษฐานเป็นบรรพชิต - พุทธประวัติ
เรียนจบสุดความรู้ของอาจารย์ - พุทธประวัติ
มงคลที่ 38 - จิตเกษม - ทำลายข่าย คือ ทิฏฐิมานะ (1)
พระพุทธองค์จึงรับสั่งให้ประชุมสงฆ์และสอบถามพระฉันนะว่า เป็นเช่นนั้นจริงหรือไม่ เมื่อท่านยอมรับว่าจริง จึงตรัสเตือนว่า "ดูก่อนโมฆบุรุษ เธอกระทำไม่เหมาะสม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ทำไมเมื่อเธอถูกภิกษุทั้งหลายว่ากล่าวโดยธรรม จึงทำตัวให้เป็นผู้ที่ใครๆว่ากล่าวไม่ได้
เรียนรู้บริขาร
บรรพชา เดิมใช้หมายถึง การบวชเป็นนักบวชทั่วไป เช่น เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกบรรพชา สาวกบรรพชา และเรียกนักบวชเช่นนั้นว่า "บรรพชิต" แต่ในสมัยปัจจุบัน คำนี้ใช้เรียกเฉพาะการบวชเป็นสามเณรเท่านั้น ส่วนการบวชเป็นพระภิกษุเรียกว่า "อุปสมบท"
ทางสายกลางเส้นทางตรัสรู้ของพระพุทธองค์
วันเพ็ญ ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ นับเป็นวันสำคัญที่มหาบุรุษ เจ้าชายสิทธัตถะบำเพ็ญเพียรทางจิต ณ ควงไม้ศรีมหาโพธิ์ จนกระทั่งตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าด้วยการดำเนินจิตตามทางสายกลางหรือมัชฌิมาปฏิปทา
สามเณรราหุล สามเณรรูปแรกในพระพุทธศาสนา
สามเณรราหุลเป็นโอรส (ลูกชาย) ของพระนางยโสธรากับเจ้าชายสิทธัตถะก่อนที่พระองค์จะตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ออกบวชเมื่ออายุ ๗ ขวบ และเป็นสามเณรรูปแรกในพระพุทธศาสนา บรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์เมื่ออายุได้ ๒๐ ปี
อานิสงส์ทำจิตเลื่อมใสในพระญาณ
เราได้ยังจิตให้เลื่อมใสในพระญาณ ประณมอัญชลี มีจิตเลื่อมใส มีใจโสมนัส ถวายบังคมพระพุทธเจ้าพระนามว่า สิทธัตถะ ด้วยอานุภาพแห่งบุญที่ได้กระทำในครั้งนั้น ในกัปที่ ๙๔ แต่กัปนี้ เราได้เสวยทิพยสมบัติมากมายหลายภพหลายชาติ เราไม่เคยไปสู่ทุคติเลย
อานิสงส์สร้างพระธรรมจักร
เราได้ตั้งธรรมจักร ทำอย่างสวยงาม อันวิญญูชนชมเชย ไว้ข้างหน้าอาสนะอันประเสริฐ แห่งพระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามว่าสิทธัตถะ เราย่อมรุ่งเรืองกว่าวรรณะทั้งสี่ มีบริวาร พลทหารและพาหนะ คนเป็นอันมากย่อมติดตามห้อมล้อมเราเป็นนิตย์ เรามีปกติแวดล้อมด้วยดนตรีหกหมื่นชนิด ย่อมงามด้วยบริวารนี้เป็นผลแห่งบุญ
ธรรมกายมีลักษณะอย่างไรและเกิดขึ้นได้อย่างไร
ธรรมกายมีลักษณะเป็นมหาบุรุษครบครั้น ใสเป็นแก้วอยู่ในศูนย์กลางกาย มีลักษณะกายเนื้อของเจ้าชายสิทธัตถะทุกประการ แต่เป็นกายละเอียด