การพัฒนาบุคคลากรด้วยปัญญา 3 ฐาน
ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ ได้เสนอวิธีการพัฒนาบุคลากรด้วยหลักปัญญา 3 ฐาน คือ ฐานกาย ฐานใจ ฐานความคิด ซึ่งแท้จริงแล้วนำมาจากหลักในพระพุทธศาสนานั่นเอง คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ในเชิงบริหารนั่นเอง
Underlying Objective of Dividing Society into Six Sectors
No-one in the world is perfect. Therefore we must know how to interact with the different social groups around us in order to pick up the positive core values we lack from them
วันครอบครัวไทย
คำว่า ครอบครัว เป็นหน่วยขนาดเล็กที่สุดของสังคมแต่สำคัญ เป็นผู้สร้างและกำหนดสถานภาพ สิทธิ หน้าที่ของบุคคลอันพึงปฏิบัติต่อกันในสังคม เป็น สถาบันแห่งแรกในการถ่ายทอดวัฒนธรรมและพัฒนา ผู้ร่วมครัวเรือน คือ ปู ย่า ตา ยาย สามี ภรรยา และบุตรหลาน การที่ได้กำหนดวันครอบครัวขึ้นมา
เมีย 'อิทธิ พลางกูร' ชีวิตรันทด ขายไก่ทอดเลี้ยงลูก
ทาน-ทางมาแห่งทรัพย์สมบัติ ความหมายของทาน
ทาน หมายถึง การให้ด้วยความบริสุทธิ์ใจ ไม่หวังผลตอบแทน เมื่อเราให้ทาน แม้จะไม่ได้หวังสิ่งใดตอบแทนก็ตาม แต่ก็จะมีบุญเกิดขึ้น และบุญนั้นจะช่วยออกแบบชีวิตของเราให้สมบูรณ์พร้อมด้วยทรัพย์สมบัติ
ผู้หญิงและผู้ชาย แตกต่างกันอย่างไร?
ผู้หญิงและผู้ชาย มีอะไรที่แตกต่างกัน สิทธิ เสรีภาพ สรีระ ผู้ชายกล้าหาญอดทนและมีพละกำลัง ผู้หญิงละเอียดอ่อน ใจเย็น และอ่อนโยน ทำไมผู้ชายและผู้หญิงจึงต่างกัน และอะไรเป็นตัวกำหนดให้แตกต่าง...
ชวนต่างชาติให้สนใจ ทาน ศีล ภาวนา
ตัวลูกเป็นชาวต่างชาติ เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา อยากให้ญาติมิตรหันมาสนใจเรื่อง การรักษาศีล เจริญภาวนา จะต้องทำอย่างไรคะ ?
ธุดงค์ธรรมชัย สามเณรดีผู้นำโลกยุคใหม่
ทุกย่างก้าวสามเณรเดินธุดงค์ด้วยความสงบ เป็นแถวสวยงาม เวลาหยุดพักก็วางกลดวางย่ามเป็นระเบียบ นั่งเป็นแนว ออกแรงพัฒนาวัดอย่างแข็งขัน ชาวบ้านก็พูดถึงและชื่นชมแต่สามเณร โครงการบรรพชาสามเณรดีศรีตำบล ทำให้เด็กๆ เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น จากที่ดีอยู่แล้วก็เป็นเด็กดีมากกว่าเดิม
“ทีไอทีวี” เป็น “ทีวีสาธารณะ” โละทิ้งพนักงานทั้งหมด
สังคหวัตถุ-4-หลักการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
ท่านทั้งหลายทราบหรือไม่ว่า การที่เรามาอยู่ร่วมกันในสังคมนั้นต้องปฏิบัติตนอย่างไร จึงจะอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านทรงได้ให้หลักธรรมในการดำเนินชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุขคือ สังคหวัตถุ 4 ซึ่งประกอบด้วยหลักธรรม 4 ข้อ ได้แก่ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา และ สมานัตตา โดยมีรายละเอียดแต่ละข้อดังนี้