ชอบทำผิดทั้งๆที่รู้
คำถาม : ทำไมคนส่วนใหญ่จึงชอบทำผิดทั้ง ๆ ที่รู้ว่าผิด
คิดผิดคิดใหม่ได้ (๒)
ดูก่อนสารีบุตร เราย่อมกำหนดรู้ใจของบุคคลบางคนในโลกนี้ว่า บุคคลนี้ปฏิบัติอย่างนั้น ดำเนินชีวิตอย่างนั้น และขึ้นสู่หนทางนั้นแล้ว เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก จักเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก โดยสมัยต่อมา เราย่อมเห็นบุคคลนั้นหลังจากตายไปแล้ว เข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก แล้วเสวยทุกขเวทนาอันแรงกล้าเผ็ดร้อนโดยส่วนเดียว ด้วยธรรมจักขุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์ทั้งหลาย
สมปรารถนาได้ด้วยบุญ
ชีวิตถูกชรานำเข้าไปใกล้ความตาย ผู้ที่ถูกชรานำเข้าไปใกล้แล้ว ย่อมต้านทานไว้ไม่ได้ เมื่อบุคคลเล็งเห็นภัยในความตายนี้ ควรทำบุญอันจะนำความสุขมาให้
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - ควรคุ้มครองอินทรีย์
วันหนึ่งท่าน ละเลยการคุ้มครองอินทรีย์ ได้ยืนมองดูมหาชน และเหลือบไปเห็นนางวรรณทาสีคนหนึ่งที่มีรูปร่างงดงาม จึงมีจิตปฏิพัทธ์ เมื่อเกิดความกำหนัดยินดี ฌานก็เสื่อม กินไม่ได้นอนไม่หลับ ทนทุกข์ทรมานอยู่ถึง ๗ วัน
อานิสงส์ถวายน้ำอ้อย
ควรทำวันและคืนไม่ให้เปล่าประโยชน์ จะน้อยหรือมากก็ตาม เพราะวันคืนผ่านบุคคลใดไปแล้ว ชีวิตของบุคคลนั้นย่อมพร่องจากประโยชน์นั้น
ทำไมจึงรวย ?
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสกับสุภมาณพ โตเทยยบุตรว่า ดูก่อนมาณพ สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย กรรมย่อมจำแนกสัตว์ให้เลวและประณีตได้.
มีอะไรก็เฉย ไม่ลุ้น ไม่ตกใจ
ครั้งแรกๆเมื่อมีอาการแบบนี้ ลูกจะลืมตาทันที ถ้าเมื่อใดที่เกิดขึ้นแบบแรงมากๆ ลูกก็จะนึกถึงมหาปูชนียาจารย์ เพราะลูกรู้สึกว่ามันน่ากลัวมากๆค่ะ แต่ครั้งนี้ลูกได้ชนะสิ่งนี้แล้ว เพียงแค่ลูกหยุด นิ่ง เฉย อย่างเบา สบาย โดยไม่นึกถึงอะไรทั้งสิ้น มีอะไรก็เฉย ไม่ลุ้น ไม่ตกใจ...
จันทกุมาร บำเพ็ญขันติบารมี (๓)
ชีวิตหลังความตายยังเป็นความมืดมนสำหรับมนุษย์ทั้งหลาย เพราะยังไม่ได้รู้แจ้งในโลกทั้งปวง มนุษย์มากมายต่างก็ปรารถนาจะไปสวรรค์ เพราะรู้ว่าสวรรค์เป็นดินแดนแห่งการเสวยสุข
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๓ (สนังกุมารพรหม)
ชาวโลกนี้ เป็นผู้มืดบอด มีน้อยคนที่เห็นแจ้งในโลกนี้ น้อยคนที่จะไปสู่สุคติโลกสวรรค์ เหมือนนกน้อยตัวที่รอดพ้นจากตาข่ายมีน้อยฉันนั้น
อานิสงส์รักษาศีลจนตลอดชีวิต
แม้ว่าจะต้องทำงานรับจ้างเหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้าเพียงใดก็ตาม ท่านจะนึกถึงศีลตนที่ได้ประคองรักษาอย่างบริสุทธิ์ผุดผ่อง จนเวลาล่วงมาถึงหนึ่งแสนปี เมื่อวาระสุดท้ายแห่งชีวิตมาถึง ท่านก็ได้ระลึกถึงศีลของตนเอง ทำให้เกิดมหาปีติว่า “ศีลที่เราสมาทาน และได้รักษาอย่างบริสุทธิ์บริบูรณ์ แม้นอนอยู่บนเตียงคนป่วย เราก็มีใจชื่นบาน ไม่หวั่นไหวต่อมรณภัยเลย