ความจน - ความรวยในพระพุทธศาสนา
หนึ่งในความยากลำบากที่น่ากลัวที่สุดในการดำเนินชีวิตของคนในระหว่างที่ยังต้องเวียนว่ายตายเกิดก็คือ ความยากจน เพราะว่าความยากจนเป็นสิ่งที่บีบคั้นให้เกิดปัญหาอีกหลายอย่างขึ้นในโลก
สมเด็จพระมหาธีราจารย์ ส่งสาส์นอนุโมทนา พิธีเปิดวัดพระธรรมกายมองโกเลีย
สมเด็จพระมหาธีราจารย์ กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าอาวาสวัดพระเชตุพน วิมลมังคลาราม ประธานสำนักงานกำกับดูแลพระธรรมทูตไปต่างประเทศ ส่งสาส์นอนุโมทนา พิธีเปิดวัดพระธรรมกายมองโกเลีย
4 self เพื่อพัฒนาตนเอง
1. self Awareness รู้จักตนเอง มีความฝัน มีเป้าหมายชีวิตที่ชัดเจน 2. self Discipline มีวินัยในตนเอง 3. self Improvement การปรับปรุงตนสอนตนเองฝึกตนเอง ดูว่าตัวเราจะต้องพัฒนาในจุดใดบ้าง ต้องหาความรู้เพิ่มเติมตลอดเวลาในเรื่องที่เราต้องการจะพัฒนา...
วัฑฒิสูตร พระสูตรที่ว่าด้วยความเจริญของผู้ครองเรือน
ชีวิตที่สมบูรณ์แบบนั้น บางคนคิดว่าคือความสุขที่มาจากทรัพย์บางคนก็คิดว่าชีวิตที่เต็มไปด้วยความเสียสละ และบางคนอาจคิดว่าความสำเร็จในหน้าที่การงานคือความสมบูรณ์แบบ
ทำอย่างไรให้ความฝันกลายเป็นจริงขึ้นมาได้
หลายๆ คนคงจะมีความฝันอยากทำอย่างนั้นอย่างนี้ และหลายคนก็คงจะสามารถทำตามความใฝ่ฝันของตัวเองได้ แต่หลายคนก็ไม่สามารถทำตามความฝันของตัวเองได้เช่นกัน
ความต้องการของคน 6 ประเภท
ธรรมดากษัตริย์ทั้งหลาย ย่อมประสงค์โภคทรัพย์ นิยมปัญญา มั่งใจในกำลังทหาร ต้องการในการได้แผ่นดิน มีความเป็นที่สุด
กลยุทธของชีวิตที่ทำให้ประสบความสำเร็จ
คนในโลกนี้มี 2 จำพวก คือคนที่ได้ กับคนที่ไม่ได้ เราต้องวางกลยุทธว่าเราต้องได้ เราต้องพิจารณาตนเองว่าเรามีความรู้ความสามารถเพียงพอหรือยัง คนอื่นทำได้ ทำไมเราทำไม่ได้
มงคลที่ ๒๖ ฟังธรรมตลอดกาล - ฟังธรรมดับทุกข์
ในสมัยพุทธกาล ท่าน สุปปพุทธกุฏฐิ เป็นคนยากจน ต้องเที่ยวขอทานขออาหารเขากินทุกวัน ทั้งยังป่วยเป็นโรคเรื้อนอีกด้วย วันหนึ่งมหาชนได้มาประชุมรวมกัน เพื่อฟังธรรมจากพระบรมศาสดา สุปปพุทธกุฏฐิเห็นมหาชนมารวมกันจำนวนมาก จึงคิดว่า คงจะมีการแจกอาหารเป็นแน่ จึงไปที่นั่นเพื่อจะได้รับแจกอาหารบ้าง แล้ววันนั้นบุญเก่าที่ท่านเคยทำมาในอดีต ก็มาส่งผลพอดี
ลักษณะมหาบุรุษ (๓)
เวลาธรรมกาย เป็นเวลาที่ทรงคุณค่าที่ทุกท่านจะได้เจริญสมาธิภาวนาร่วมกัน เพื่อกลั่นกาย วาจา ใจของเรา
มงคลที่ ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล - สนทนาอย่างบัณฑิต
"ดูก่อนมหาบพิตร ถ้ามหาบพิตรจักสนทนาตามเยี่ยงอย่างบัณฑิต อาตมภาพก็พร้อมจะสนทนากับมหาบพิตร แต่ถ้ามหาบพิตรจักสนทนาตามเยี่ยงอย่างของพระราชา อาตมาก็จักไม่สนทนาด้วย" พระยามิลินท์ตรัสถามว่า “บัณฑิตทั้งหลายสนทนากันอย่างไร”