หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๕)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนนำเสนอบทความ “การค้นพบหลักฐานธรรมกายจากเอกสารโบราณในประเทศไทย” ฉบับเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา กล่าวคือ คณะนักวิจัยของสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI) ได้ทำการสืบค้นศึกษาวิจัยจนพบ หลักฐานร่องรอยธรรมกาย จากหลักศิลาจารึก....
เราจะพัฒนาตนเองให้มีศักยภาพในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาได้อย่างไร ?
ถ้าเราช่วยกันเผยแผ่พระพุทธศาสนาได้อย่างนี้ จึงจะเรียกได้ว่าเป็นการจรรโลงโลกไว้ให้เป็นสถานที่ที่มนุษย์มีโอกาสสร้างความสุขความเจริญให้แก่ชีวิตตนต่อไปได้
รับสมัครงาน "คนขับรถ"
รับสมัครงาน "คนขับรถ" สอบถามรายละเอียด โทร. 096-650-8033
รักตัวเองกับหลงตัวเอง
“รักตัวเอง“ กับ “หลงตัวเอง“ แตกต่างกันอย่างไร ?
แฝด 4 บวชเณรล้านอ่างทองทำลายสถิติโลก
อนมาบวชสามเณร ปิง วัง ยม น่าน แฝดทั้ง 4 คน เรียนหนังสืออยู่ที่โรงเรียนวัดอ่างทอง ได้คุณย่ากิมลุ๊ย สุภาเพียร หรือ ย่าแอ๊ด เป็นยอดกัลยาณมิตรชวนมาบวชที่วัดช้างและมาอบรมที่ศูนย์ธุดงคสถานอ่างทอง ฝาแฝดทั้ง4 คน มีธรรมชาติ
โครงการดวงตะวันสันติภาพ รุ่นที่ 10 เปิดรับสมัครนักศึกษาทุน
โครงการดวงตะวันสันติภาพ รุ่นที่ 10 เปิดรับสมัครนักศึกษาทุน "ดวงตะวันสันติภาพ" ศึกษาต่อต่างประเทศ รับสมัครตั้งแต่บัดนี้ ถึง 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2559
โครงการบรรพชาหมู่ 150 รูป ณ ประเทศเนปาล ตอน แสงแห่งพระรัตนตรัยนำทางสว่าง
ในช่วงปีที่ผ่านมา ประเทศเนปาลซึ่งเป็นดินแดนประสูติของพระพุทธองค์ได้เกิดเหตุแผ่นดินไหว ทำให้เกิดวิกฤตพลังงานและภาวะข้าวยากหมากแพงครั้งใหญ่ คณะสงฆ์จากประเทศไทยจึงเดินทางไปช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ ประเทศเนปาล ด้วยการเยียวยาทั้งทางร่างกายด้วยปัจจัยสี่ และฟื้นฟูสภาพจิตใจด้วยธรรมโอสถ โดยมี พระเดชพระคุณพระเทพโพธิวิเทศ หัวหน้าพระธรรมทูตสายประเทศอินเดีย-เนปาล และคณะ เป็นผู้แทนคณะสงฆ์ไทยไปปฏิบัติภารกิจในครั้งนี้
ข้อมูลการเข้าชมนิทรรศการความรู้ที่แท้จริงเพื่อสันติภาพโลก
เวลาเปิดทำการ เวลาการแสดงนิทรรศการ รอบการฉายภาพยนตร์ การเดินทางมาวัดพระธรรมกาย การแต่งกาย และอื่นๆที่คุณควรทราบ
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๒ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป
ถ้าพูดภาษาชาวบ้านก็เกี่ยวกับการรักษารูปของเรา คือ เรื่องการแต่งเนื้อแต่งตัวและกิริยามารยาทต่าง ๆ ซึ่งของพระภิกษุท่านว่าไว้อย่างนี้ ข้อ ๑-๒ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักนุ่ง-จักห่มให้เรียบร้อย”
การสนทนาระหว่างฆราวาสกับพระภิกษุ/สามเณร
การสนทนาระหว่างฆราวาสกับพระภิกษุ/สามเณร ๑. เวลาพระท่านพูด ควรตั้งใจฟังด้วยความเคารพ ไม่ควรขัดจังหวะหรือพูดแทรกขึ้นมาในระหว่างที่ท่านกำลังพูดอยู่ ๒. เวลาท่านให้โอวาทหรืออวยพร ควรประนมมือฟังด้วยความเคาพ ๓. เวลารับไตรสรณคมน์ และรับศีล ควรว่าตามด้วยเสียงที่ชัดเจน