มงคลที่ ๓๒ ประพฤติพรหมจรรย์ - ประพฤติพรหมจรรย์
เพียงตัดสินใจออกบวชเพื่อประพฤติพรหมจรรย์แค่ไม่กี่ปี ยังเป็นเหตุให้ท่านได้ทิพยสมบัติมากมาย และได้ครอบครองยาวนานถึงเพียงนี้ การประพฤติพรหมจรรย์ คือ การประพฤติอันประเสริฐ ไม่ใช่ต้องออกบวชเพียงอย่างเดียวเท่านั้น พรหมจรรย์มีอยู่หลายระดับด้วยกัน แล้วแต่ใครจะสะดวกประพฤติพรหมจรรย์ในระดับไหน ตั้งแต่พรหมจรรย์ขั้นต้นสำหรับผู้ครองเรือน ก็ให้พอใจเฉพาะคู่ครองของตนเท่านั้น ไม่ให้นอกใจภรรยาหรือสามี มีศีล๕ เป็นปกติ
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - กุศโลบายให้พ้นโลก
โธตกมาณพทูลว่า "ถ้าพระองค์จะทรงพระกรุณา ก็ควรแสดงธรรมอันทำให้กิเลสของข้าพระพุทธเจ้าดับไป และแสดงธรรมที่ควรจะรู้ ขอได้โปรดสั่งสอนข้าพระองค์ให้เป็นคนโปร่งเบาใจ ไม่ขัดข้องดุจสภาวะที่กิเลสดับไปแล้ว ไม่อาศัยสิ่งใดสิ่งหนึ่งเที่ยวอยู่ในโลกนี้เถิด พระพุทธเจ้าข้า"
สามเณร ร.ร.นานาชาติ
ผมทบทวนกายจนไม่อยากนับว่าได้กี่ร้อยรอบไปแล้ว และสามารถย่อขยายองค์พระ จะให้เล็กเท่าปลายเข็มแล้วขยายใหญ่ไปเท่าไหร่ก็ได้ตามใจปรารถนา
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - ตบะธรรมชนะกิเลส
ท้าวสักกะทรงดำริว่า “ดาบสนี้มีอานุภาพมากจะทำให้เราเคลื่อนจากความเป็นท้าวสักกะ เราจะต้องร่วมมือกับพระเจ้าพาราณสี ทำลายตบะของดาบสนั้นให้ได้” ครั้นเวลาเที่ยงคืน จึงเสด็จไปยังห้องบรรทมของพระเจ้าพาราณสี แสดงอานุภาพของท้าวสักกะ พลางตรัสกับพระราชาว่า
ทศชาติชาดก เรื่อง ภูริทัต ตอนที่ 2 ต้นเหตุแห่งเภทภัย
และความดำรินี้เอง คือ จุดเริ่มต้นของความหายนะที่กำลังจะเกิดกับพระราชโอรสในอนาคตอันใกล้ นับแต่วันนั้น เมื่อพระราชาทรงสดับถ้อยคำสรรเสริญเยินยอของพระราชโอรสครั้งใด ก็คล้ายดั่งคมมีดที่กรีดใจทีละน้อยทีละน้อย ความริษยาก็เริ่มทวีความรุนแรงมากขึ้น
ศีลภรตคืออะไร ต่างจากศีลห้าอย่างไร? - หลวงพ่อตอบปัญหา
ศีลภรตคืออะไร ต่างจากศีลห้าอย่างไร?,การรักษาศีลแปดคือการประพฤติพรหมจรรย์ ถ้ารักษาศีลข้อสามได้ดี ข้ออื่นเช่น ข้อหก เจ็ด แปด ไม่ต้องรักษาก็ได้ ใช่หรือไม่?,ทำไมต้องนั่งสมาธิ? สมาธิดีอย่างไร?
พระพุทธศาสนา ศาสนาแห่งการดับทุกข์ - พุทธประวัติ
พุทธประวัติ พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน
เปรตเกิดมาจากไหน
คำถาม : เคยอ่านในพระไตรปิฎกว่า มีคนเกิดเป็นเปรตเพราะวิบากกรรมต่างๆ อยากทราบว่าภพภูมิเปรตเกิดจากกิเลสตัวไหนค่ะ
ปชาบดีเถรี ผู้รัตตัญญู (๒)
ความชั่วทางกาย วาจา และใจของบุคคลใดไม่มี เราเรียกบุคคลนั้น ผู้สำรวมแล้วโดยฐานะ ๓ ว่า เป็นพราหมณ์
พระภัททิยะเถระ
ผู้ใดตัดความข้องทั้งปวงแล้ว บรรเทาความกระวนกระวายใจได้ ผู้นั้นถึงความสงบใจ เป็นผู้สงบระงับ ย่อมอยู่อย่างมีความสุข