ครั้งแรกในโลก!! ตึก "หมุน360องศา" ทุกชั้น
วัดพระธรรมกาย จัดพิธีถวายภัตตาหารเป็นสังฆทานออนไลน์
พุทธศาสนิกชนทั้งภายในและต่างประเทศ ร่วมประกอบพิธีถวายภัตตาหารเป็นสังฆทานออนไลน์ ผ่านทางระบบ ZOOM
วิธีเริ่มต้นปีใหม่ตามหลักพุทธวิธี
วันปีใหม่ในสายตา ของนักปฏิบัติธรรมจะมองว่า อายุของเราเพิ่มขึ้นอีก ๑ ปี ความชรานำเราใกล้เข้าไปสู่ความตายเร็วขึ้น วันคืนล่วงไปๆ บัดนี้เราทำอะไรอยู่ บารมี อะไรที่ยังพร่องอยู่ก็จะเร่งสร้างให้เต็มที่ บุญชนิดไหนที่ทำมาเป็นประจำจะขวนขวายให้ยิ่งๆ ขึ้นไป เราจะไม่ประมาทในวัยและชีวิต หรือสิ่งใดที่เคยประพฤติผิดพลาดพลั้งไปในปีเก่าที่ผ่านมา ก็จะปรับ ปรุงแก้ไขตนเองให้ดีขึ้น เพื่อก้าวสู่ชีวิตใหม่ในศักราชใหม่ ให้เป็นศักราชชัยแห่งคุณงามความดี เป็น อารยชนผู้ทำตนให้บริสุทธิ์ผุดผ่อง แก่บุญแก่บารมียิ่งๆ ขึ้นไป
ทำบุญแบบระแวง
คำถาม : การทำบุญแบบระแวง ๆ กลัวว่าจะถูกหลอก เนื่องจากยังไม่มั่นใจในเนื้อนาบุญ อย่างนี้เวลาบุญส่งผล สมบัติจะเกิดขึ้นอย่างไร และที่ถูกต้องควรจะทำอย่างไร
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - โลกตระการของคนเขลา
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงอนุปุพพิกถา คือ ตรัสถึงการให้ทานว่าเป็นสิ่งที่ควรทำ เพราะเป็นการขจัดความตระหนี่ออกจากใจ จะได้เป็นบุญกุศลติดตัวข้ามภพข้ามชาติ เกิดมากี่ภพกี่ชาติจะได้ไม่ต้องลำบากในการทำมาหากิน จะได้สร้างบารมีได้อย่างสะดวกสบาย แล้วจึงตรัสเรื่องการรักษาศีล ซึ่งเป็นบ่อเกิดแห่งคุณความดีทั้งมวลที่จะทำให้มีความสุข ความบริสุทธิ์ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - บัณฑิตผู้แสวงหาทางพ้นทุกข์
ในขณะนั้นเอง ดวงตาเห็นธรรมได้บังเกิดขึ้นกับท่านอชิตะ และท่านได้ทูลถามถึงข้อควรปฏิบัติ โดยกล่าวถามอย่างชาญฉลาดว่า "ชนผู้ได้เห็นธรรมแล้ว และชนผู้ยังต้องศึกษาอยู่ สองพวกนี้มีอยู่ในโลกเป็นอันมาก พระองค์มีปัญญาแก่กล้า ขอทรงโปรดตรัสบอกวิธีการปฏิบัติแก่ข้าพระองค์ด้วยเถิด"
เผยรายชื่อผู้ทำคุณประโยชน์รับพระราชทานเสาเสมาธรรมจักร ประจำปี 2557
กรมศาาสนาเผย 125 ชื่อผู้ทำคุณประโยชน์ต่อศาสนา รับพระราชทานเสาเสมาธรรมจักรจากสมเด็จพระเทพฯ
"คำหยาบ"ทำหนังไทยด้อยคุณค่า "บาแรมยู"รณรงค์ห้าม"ผกก."ใช้
พรานป่ากับนายประตู
ความโลภนี้ไม่ดีเลย จะนำตัวเราไปสู่หนทางเสื่อม หากเราปรารถนาทรัพย์แล้ว ก็ต้องเร่งขวนขวายในการประกอบกิจการงานจึงจะควร
การปฏิบัติเพื่อฝึกใจตามเส้นทางสายกลาง
ในธัมมจักกัปปวัตนสูตรอันเป็นพระสูตรที่กล่าวถึงปฐมเทศนาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงกล่าวถึง มัชฌิมาปฏิปทา หรือ ทางสายกลาง ซึ่งเป็นหนทางหรือข้อปฏิบัติที่ไม่ตึงเกินไปจนเป็นความลำบากแก่ตน (อัตตกิลมถานุโยค) ไม่หย่อนเกินไปจนเป็นการพอกพูนกามกิเลส(กามสุขัลลิกานุโยค) ...