วัดพระธรรมกายแมนเชสเตอร์ จัดปฏิบัติธรรม ณ ร้านซิมพลีไทย
วัดพระธรรมกายแมนเชสเตอร์ ได้จัดปฏิบัติธรรม ณ ร้านซิมพลีไทย เมืองลิวิเก้น ประเทศอังกฤษ
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : ฝึกตนฝึกใจไปนิพพาน
การบรรลุธรรมไม่ได้จำกัดชนชั้น การหมดกิเลสไม่ได้จำกัดวัย การสิ้นอาสวะไม่ได้จำกัดเพศภาวะ ทุกเพศ ทุกวัย ทุกชนชั้น ไม่ว่าใคร ๆ
อริยมรรค หนทางสู่ความหลุดพ้น
ท่านทั้งหลายจงดำเนินตามทางที่สร่างความมัวเมา บรรเทาความเศร้าโศก เปลื้องตนให้หลุดพ้นจากสงสาร ซึ่งเป็นที่สิ้นสุดแห่งทุกข์ทั้งปวง โดยความเคารพเถิด
พิจารณาปล่อยวางในขันธ์ ๕
ภาชนะดินที่นายช่างทำแล้วทุกชนิด มีความแตกเป็นที่สุด แม้ฉันใด ชีวิตของสัตว์ทั้งหลายที่เกิดมาแล้ว ล้วนมีความแตกสลายเป็นที่สุดฉันนั้น
ทำไมต้องทาน ศีล ภาวนา
การให้ทาน รักษาศีล และเจริญสมาธิภาวนา เป็นข้อปฎิบัติในชีวิตประจำวันของชาวพุทธ ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงมอบไว้ให้
หนทางหลุดพ้นจากวิบากกรรม
วันนี้มีคำถามจากท่านสาธุชนมาว่า ทำอย่างไรจึงจะหลุดพ้นจากวิบากกรรมเก่า จะต้องอโหสิกรรมใช่หรือไม่
ฮวงจุ้ย-ที่นี่มีคำตอบ
การดูฮวงจุ้ย ถือว่าเป็นบาปหรือไม่ และมีผลกำหนดชะตาชีวิตของคนเรามากน้อยแค่ไหน
พบความสุขที่แท้จริงด้วยสมาธิ
ความสุขเป็นสิ่งที่มนุษย์ทุกคนล้วนปรารถนา แต่มีน้อยคนที่รู้ว่า ความสุข คืออะไรและอยู่ที่ไหน ที่จริงแล้วความสุขมีอยู่ในตัวเรานี่เอง และสามารถค้นพบได้ง่ายๆโดยไม่ต้องเดินทางไปหาที่ไหน และไม่ต้องทุ่มเททรัพย์สินเงินทองอะไรไปแลกมา เพียงแค่นั่งลงแล้วหลับตาทำสมาธิภาวนา ก็จะพบความสุขที่ประณีตยิ่งๆ ขึ้นไปได้ ซึ่งหลายๆคน ที่ทำสมาธิภาวนาอยู่เสมอกล่าวว่า “ไม่นึกเลยว่านั่งสมาธิแล้วจะมีความสุขถึงขนาดนี้”
มงคลที่ ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล - ตอบปัญหาธรรมะ
ครั้งนั้น มีลูกของเศรษฐีได้สนทนากันในเรื่องที่ว่า ทำอย่างไรจะหลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด เมื่อไม่รู้วิธี จึงได้ชักชวนกันออกแสวงหาธรรมะกับครูบาอาจารย์ที่มีชื่อเสียง เมื่อได้รับการแนะนำจากอาจารย์ให้มาถามปัญหาธรรมะกับพระบรมศาสดา จึงพากันมาเข้าเฝ้าพระพุทธองค์
มงคลที่ ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล - ไขปริศนาธรรม
พระพุทธองค์ผู้รู้แจ้งโลก ตรัสตอบว่า “บุคคลเชื่อธรรมของพระอรหันต์ผู้บรรลุนิพพาน ฟังอยู่ด้วยดีย่อมได้ปัญญา บุคคลเป็นผู้ไม่ประมาท เป็นผู้ฉลาด เป็นผู้ทำอะไรเหมาะสม ไม่ทอดธุระ ขยันหมั่นเพียร ย่อมหาทรัพย์ได้ คนย่อมได้ชื่อเสียงเพราะความสัตย์ ผู้ให้ย่อมผูกมิตรไว้ได้ บุคคลใดประกอบด้วยศรัทธา มีธรรม ๔ ประการนี้ คือ สัจจะ ทมะ ขันติ จาคะ บุคคลนั้น ละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมไม่เศร้าโศก”