ร่วมพิมพ์หนังสือธรรมะ "ที่สุดแห่งธรรม ถึงได้ด้วยความเคารพ"
ร่วมพิมพ์หนังสือธรรมะ "ที่สุดแห่งธรรม ถึงได้ด้วยความเคารพ" ในพิธีมุทิตาสักการะ หลวงพ่อทัตตชีโว สิริมงคล อายุ 78 ปี (21 ธันวาคม พ.ศ.2561)
วัดบรรพตมโนรมย์
วัดบรรพตมโนรมย์ "วัดผาชัน" หรือเรียกตามลำห้วยที่อยู่ใกล้วัดว่า "วัดห้วยผาชัน" อยู่ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร ต่อมาเมื่อพุทธศักราช ๒๕๑๗ จึงได้ขอตั้งชื่ออย่างเป็นทางการว่า วัดบรรพตมโนรมย์
วัดพระธรรมกาย ชมวัดพระธรรมกาย แผนที่วัดพระธรรมกาย
ชมวัดพระธรรมกาย สถานที่ต่างๆ ภายในวัดพระธรรมกาย วัดพระธรรมกายสร้างขึ้นภายใต้แนวคิด “สร้างวัดให้เป็นวัด สร้างพระให้เป็นพระ และสร้างคนให้เป็นคนดี” ตามหลักปฏิรูปเทส 4 ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
รับสมัครริ้วขบวนโล่เกียรติยศในวันมาฆบูชา
ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในประวัติศาสตร์ ริ้วขบวนโล่เกียรติยศในวันมาฆบูชา 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
วัดหัตถสารเกษตร
พระยาหัตถสารศุภกิจกับคุณนายจอนได้ซื้อที่ดินไว้ให้ชาวนาเช่าทำนา บริเวณคลองซอยที่ ๕ แล้วได้สร้างกุฏิพระขึ้นเรียกกันว่า วัดกลางคลองห้า ต่อมาเมื่อขอวิสุงคามสีมาได้รับพระราชทานนามวัดจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า วัดหัตถสารเกษตร
วัดโกรกกราก
วัดโกรกกรากตั้งอยู่ริมแม่น้ำท่าจีน ตำบลโกรกกราก อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร เป็นที่ชุมนุมของชาวเรือประมงสันนิษฐานว่าเป็นวัดเก่ามีมาแต่โบราณ ไม่ปรากฎชื่อ สร้างเมื่อปี พุทธศักราช ๒๓๗๕ หลักฐานต่างๆเกี่ยวกับวัดได้สูญหายไปเมื่อครั้งเกิดไฟไหม้ใหญ่
วัดบางบัว
วัดบางบัวสร้างเมื่อประมาณพุทธศักราช ๒๓๘๐ โดยมีสี่พระยาเป็นผู้สร้างแต่ก่อนชาวบ้านเรียกวัดบางบัวว่า วัดลาดน้ำเค็ม ต่อมาจึงเปลี่ยนชื่อเป็นวัดบางบัวหมายถึงคลองบัวที่ผ่านหน้าวัด
แถลงข่าว วัดพระธรรมกาย ฟ้อง อบต.คลองสาม ปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ เหตุสั่งห้ามใช้อุโบสถ
กรณีทางวัดพระธรรมกาย ได้ทราบข่าวจากสื่อมวลชนว่า นายวิระศักดิ์ ฮาดดา นายกองค์การบริหารส่วนตำบลคลองสาม ได้ไปแจ้งความวัดพระธรรมกาย เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2559 ที่ผ่านมา
วัดโคนอน ตำนานพระธุดงค์วัดโคนอน
วัดโคนอน ถือว่าเป็นวัดกลางป่ากลางดงขาดการบูรณะจึงได้มีการบูรณะจัดรูปแบบให้เป็นระเบียบโดยใช้อุโบสถเป็นศูนย์กลางใครที่มาถึงวัดโคนอนแห่งนี้ จะสัมผัสได้ถึงต้นไม้ใหญ่นับร้อยแผ่กิ่งใบให้ความร่มรื่น
วัดป่างิ้ว
วัดป่างิ้ว ได้รวม วัดพญาเมือง ทางคลองด้านใต้และ วัดนางหยาด ทางคลองด้านเหนือเข้าด้วยกันเป็น วัดป่างิ้ว ตามชื่อท้องถิ่นบ้านงิ้วมีเนื้อที่ ๙๐ ไร่เศษ รูปแบบการก่อสร้างละม้ายไปตามความนิยมของท้องถิ่น ซึ่งเป็นชาวมอญเสียส่วนมาก