เพราะครูไม่ใหญ่ต่อเวลา จึงได้สร้างพระพันองค์
นับเป็นความเมตตาของคุณครูไม่ใหญ่ที่ได้ต่อเวลาขยายโอกาสเกือบปิดเจดีย์ออกไป ทำให้ขุนรบต่างแดน เร่งขยับฤทธิ์แบบสุดๆ ทุ่มหัวใจแบบไม่ขยักฤทธิ์ เร่งตามหาเจ้าของบุญที่ยังรอคอยอยู่ทั่วโลก ด้วยเป้าหมายคงเดิม คือ การปิดเจดีย์ แต่วิธีการแบบใหม่ ดังเรื่องราวของคุณป้าสุกี้ จากวัดพระธรรมกายลอนดอน ประเทศอังกฤษ ที่สร้างองค์พระหนึ่งพันองค์ เป็นคนแรกของภาคจักรวาลในต่างประเทศ
เมื่อบัณฑิตกำจัดความประมาทด้วยความไม่ประมาท
เมื่อใดบัณฑิตกำจัดความประมาทด้วยความไม่ประมาท เมื่อนั้นเขานับว่าได้ขึ้นสู่ "ปราสาทคือปัญญา" ไร้ความเศร้าโศก สามารถมองเห็นประชาชน ผู้โง่เขลา
วิทยาธรชวนบวช!!
ในช่วงเวลาที่จะมีบุญใหญ่ คือการบวชพระแสนรูปเข้าพรรษา เหล่าวิทยาธรทั้งหลายก็อยากสร้างบุญเช่นกัน เลยใช้ทิพยจักษุมองลงมาหาผู้มีบุญ
คำสอนของแม่หลวง
"...ความเจริญทางด้านวัตถุ ทำให้โลกของเรามีความก้าวหน้าและสะดวกสบายขึ้นอย่างยิ่ง จึงต้องนับว่าความเจริญทางวัตถุนี้เป็นสิ่งจำเป็นและสำคัญมากสำหรับชีวิต แต่ชีวิตของเรายังต้องการความเจริญอย่างอื่นด้วย คือความเจริญด้านจิตใจ ซึ่งสำคัญและจำเป็นไม่น้อยไปกว่าความเจริญทางวัตถุเลย..." (พระราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรการศึกษาวิชาพยาบาล วันที่ 31 ก.ค.2510)
พิธีบรรพชาสามเณร โครงการแสนรูปเข้าพรรษา
นาคธรรมทายาทในโครงการอุปสมบทหมู่เข้าพรรษา 1 แสนรูป ทุกหมู่บ้านทั่วไทย เข้าร่วมพิธีบรรพชาบรรพชาสามเณรพร้อมกันทั่วประเทศ ณ วัดพระธรรมกาย จังหวัดปทุมธานี
บุคคลิกของคนมีสัจจะ
คำถาม : บุคคลิกของคนที่มีสัจจะนั้นเป็นอย่างไร
มงคลที่ ๘ มีศิลปะ - แก้ปัญญาหาด้วยปัญญาอันลึกซึ้ง (๓)
พระราชาจึงตรัสถามนายคามณิจันท์ว่า "แล้วความจริงมันเป็นอย่างไรล่ะ ท่านจงเล่ามาซิ" เขาได้เล่าเรื่องราว ทั้งหมดไปตามความเป็นจริง ตั้งแต่ที่ยืมโคไปแล้ว จนเอามาส่งคืน แต่ยังไม่ได้บอกเจ้าของเพราะเจ้าของโคกับภรรยากำลังทานข้าวอยู่ และเจ้าของก็เห็นแล้วว่า โคเข้าบ้านไปแล้ว แต่ตอนที่โคหายไปนั้น หายไปตอนกลางคืน ซึ่งไม่รู้ว่าใครขโมยไป ส่วนพระราชาจะตัดสินอย่างไรนั้น
มงคลที่ 38 - จิตเกษม - ปล่อยวางอย่างพระอริยะ
พระบรมศาสดาประทับยืนที่เหนือศีรษะของท่าน ตรัสให้เห็นทุกข์เห็นโทษของสังขารร่างกายนี้ว่า "กายของเธอนี้อยู่อีกไม่นาน เพราะจะปราศจากวิญญาณแล้ว หาอุปการะมิได้ อีกไม่นานต้องนอนบนแผ่นดิน เหมือนท่อนไม้ที่ไม่มีประโยชน์"
พิธีถวายองค์พระประธาน ณ วัดป่าหมาก ตอนที่ 2
เช้าของวันอาทิตย์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2556 เป็นวันบุญประวัติศาสตร์ที่ชาวแม่ลาน้อยยังคงปลื้มไม่ลืม ท่ามกลางละอองฝนเบาๆที่โปรยปราย ได้มีพี่น้องชาวดอยหลากหลายชนเผ่าหลายพันคน ทุกเพศทุกวัย ตั้งแต่เด็กน้อยตัวนิ่วๆจนถึงพ่ออุ๊ยแม่อุ๊ย มานั่งตามเส้นทางจากวัดแม่ลาน้อยไปยังวัดป่าหมาก
ชี้ศาสนาพุทธเป็นสื่อรวมชนชาติ ช่วยดับร้อนในโลกด้วยสติปัญญา