10 ข้อดี แอปพลิเคชั่นธรรมจักรเวอร์ชั่นใหม่
10 ข้อดี! แอปพลิเคชันธรรมจักรเวอร์ชั่นใหม่ มาพร้อมกับความสะดวกสบายให้ผู้สวดทุกมุมโลกส่งยอดและทราบผลได้ทันที
ธุดงค์ธรรมชัย หรอยจังหู้
หลวงพ่อครับ ตอนนี้ผมรู้แล้วครับว่า ทำไมจึงต้องมาเดินธุดงค์ ทำไมต้องมาทำภารกิจพิเศษ และผมก็เห็นแล้วครับว่า กิจกรรมของหลวงพ่อทุกกิจกรรมมันซูดหยอดจังหู้ครับ อยากให้ผู้ชายแมนๆ ทั่วประเทศได้มาลองพิสูจน์ด้วยตนเองว่าชีวิตของพระนั้นหรอยแค่ไหน
อดีตนักมวย ลาแฟนมาบวชไม่สึก
เรื่องราวของนักรบแห่งกองทัพธรรมท่านหนึ่ง...อดีตเคยเป็นนักมวยที่มี่ความสามารถ ชกชนะมากกว่าแพ้ ผ่านเวทีการชกมาอย่างโชกโชน...ท่านต้องกำพร้าพ่อตั้งแต่ยังเล็ก แต่ยังมีพ่อเลี้ยงให้ความอุปถัมภ์มาอย่างดี...เมื่อได้มาเจอกับหมู่คณะ จึงเกิดความศรัทธาอย่างแรงกล้า และในที่สุดก็ได้มาบวชสร้างบารมีกับหมู่คณะ...และกับคำถาม “คนที่เป็นนักมวยในระดับแชมป์ มีบุญหรือบาปใดส่งผลให้ได้เป็นแชมป์”...
วิบากกรรมอะไรจึงต้องไปเกิดเป็นยักษ์
ยักษ์มี ๒ ประเภทใหญ่ๆ คือ ยักษ์โดยอุปมาอุปไมย หมายถึงคนใจยักษ์ทั้งหลายรูปร่างเป็นคนเหมือนเรา แต่ใจคอร้ายกาจ กับยักษ์ที่เป็นยักษ์จริงๆ
บางสิ่งที่แสวงหา
เคยไหม...บางครั้งที่เราอยู่คนเดียวเงียบๆ แล้วเกิดคำถามขึ้นมาในใจว่า เรากำลังแสวงหาอะไรสักอย่างหนึ่งที่จะทำให้ชีวิตสมบูรณ์ แต่เราก็ตอบไม่ได้ ว่าสิ่งนั้นคืออะไร เข้าพรรษานี้เรามีคำตอบค่ะ...
ภาษาบาลีและสันสกฤตมีความสำคัญอย่างไร
ภาษาไทย แม้จะเป็นภาษาคนละตระกูลกับภาษาบาลีและสันสกฤต แต่ก็รับเอาคำบาลีและสันสกฤตมาใช้ในภาษาไทยไม่น้อย อาจกล่าวได้ว่ามากกว่าภาษาอื่นๆ ที่นำมาใช้ในภาษาไทยในปัจจุบัน เช่น ภาษาอังกฤษ
นักมวย นักรบ นักบวช
นักรบแห่งกองทัพธรรมท่านหนึ่ง...ในอดีตท่านเคยเป็นนักมวย เป็นทหารรับใช้ประเทศชาติ...ได้ออกรบในสมรภูมิ...ต่อมา ท่านได้มาพบกับหมู่คณะ และได้อธิษฐานจิต ต่อคุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง ให้ได้บวชในวัดพระธรรมกาย และ ไม่สึก ซึ่งท่านก็สมความปรารถนา...กับคำถาม “มีคนจำนวนไม่น้อยเลยที่มีความเข้าใจว่า ศิลปะแม่ไม้มวยไทย เป็นศิลปะประจำชาติไทย ควรจรรโลงเอาไว้ เขาคิดถูกหรือผิด ถ้าผิดจะมีวิบากอย่างไร”
เรียงความวันสุนทรภู่ ตัวอย่างการเขียนเรียงความสุนทรภู่
เดือนมิถุนายนเป็นเดือนที่มีความสำคัญเด็กๆจะต้องเขียนเรียงความวันสุนทรภู่ วันนี้มีตัวอย่างการเขียนเรียงความวันสุนทรภู่ดังนี้...
ชีวิตที่เลือกแล้ว ขอบวชสร้างบารมี
พระชิดชนก ปญฺญาเชฏฺโฐ จากศูนย์อบรมวัดหัวถนน จังหวัดนครปฐม ได้เข้ามาบวชในโครงการของวัดพะธรรมกาย เพราะโยมพ่อของท่านได้เจอหนังสือชวนบวชมี่วางไว้ในร้านตัดผม เมื่ออ่านหนังสือแล้วจึงได้ตัดสินใจบวชทันที