สู้จนกว่าจะชนะ
บัณฑิตในกาลก่อน แม้ถือกำเนิดในสัตว์เดียรัจฉาน ได้กระทำความเพียรจนได้รับบาดเจ็บเห็นปานนี้ แต่ก็ไม่ละความเพียร ส่วนเธอออกบวชในศาสนานี้ ที่จะนำออกจากทุกข์ได้ เพราะเหตุไรเล่า จึงละความเพียรเสีย
ธรรมกายคือหลักของชีวิต
เมื่อใดบัณฑิตย่อมเห็นด้วยปัญญาว่า สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง เมื่อนั้นเขาย่อมหน่ายในทุกข์ นี้เป็นทางแห่งความหมดจด
The Noble Truth of the Path to the Cessation of Suffering # 6
The Three Signs of Existence [tilakkhana] that are exhibited by all material things are impermanence [aniccam], suffering [dukkham] and not –self [anatta]
The Four Noble Truths : 1. Explanation of the Noble Truth of Suffering
The Lord Buddha’s explanation of suffering includes all four of suffering’s implications in the light of the Four Noble Truths:
กระแสแห่งกรรม (๒)
ภิกษุทั้งหลาย โลสกติสสะผู้นี้ ได้ประกอบกรรมคือ ความเป็นผู้มีลาภน้อย และความเป็นผู้ได้อริยธรรมของตนด้วยตนเอง เนื่องด้วยครั้งก่อนเธอกระทำอันตรายลาภของผู้อื่น จึงเป็นผู้มีลาภน้อย แต่เป็นผู้บรรลุอริยธรรมได้ด้วยผลที่บำเพ็ญวิปัสสนา คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : น้อยนัก สั้นนัก
อปฺปํ วต ชีวิตํ อิทํ ชีวิตนี้น้อยนัก ชีวิตนี้สั้นนัก คนประมาทมักคิดว่าตนมีเวลามากมาย ทำเหมือนชีวิตตนเป็นอมตะ ไม่มีหมดอายุ ไม่มีวันตาย แท้จริงแล้วทุกสรรพสิ่งล้วนไม่จีรังเที่ยงแท้
ถ้าเราถูกใส่ความจะทำอย่างไรดี - หลวงพ่อตอบปัญหา
ในกรณีที่เราถูกใส่ความโดยไม่มีมูลความจริง เราควรจะวางตัวอย่างไรดี,คนที่มีนิสัยชอบอิจฉาผู้อื่น จะมีผลเสียกับตัวเขาเองอย่างไรบ้าง และจะสามารถแก้ไขนิสัยนี้ได้อย่างไร?
พุทธสุภาษิตสะกิดใจ "อิจฉามี คนดีจะหายาก"
พุทธสุภาษิต วันนี้ "อรติ โลกนาสิกา ความริษยา เป็นเหตุให้โลกพินาศ" พุทธศาสนสุภาษิต ที่บัณฑิตควรศึกษาไว้...
สัตติคุมพะชาดก ชาดกว่าด้วยเรื่องการคบหาคนพาล
สารัตถะแห่งพระพุทธศาสนาข้อสำคัญที่ประจักษ์แจ้งทั่วกันอย่างหนึ่งก็คือ อนิจจัง ความไม่เที่ยงไม่จีรังยั่งยืนของสรรพสิ่ง ในแผ่นดินมคธซึ่งสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงปักธงชัยประกาศศาสนาไว้ ก็ไม่พ้นจากความจริงจากข้อนี้ได้ เมื่อสิ้นอำนาจพระเจ้าพิมพิสาร พระเจ้าอชาตศัตรูผู้ทำปิตุฆาตขึ้นครองมคธตามคำยุยงของพระเทวทัต
มงคลที่ ๒๖ ฟังธรรมตลอดกาล - ฟังธรรมตามกาล
พระภิกษุรูปหนึ่งชื่อ เอกธรรม ท่านบรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์ในขณะที่มีอายุเพียง ๗ ขวบเท่านั้น เมื่อบรรลุธรรมแล้ว ก็ระลึกชาติในอดีตว่า ได้ทำบุญอะไรมา ถึงได้บรรลุธรรมตั้งแต่เยาว์วัย ประเภทสุขาปฏิปทา ขิปปาภิญญา คือ ปฏิบัติได้สะดวก ตรัสรู้ได้อย่างรวดเร็ว ไม่ต้องลำบากทำความเพียร เหมือนกับภิกษุรูปอื่นๆ ท่านได้เล่าให้ฟังว่า