บุพกรรมของพระพุทธเจ้าตอนที่ ๒
ดูก่อนมาณพ สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย กรรมย่อมจำแนกสัตว์ให้เลวและประณีตได้
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 84 วิริยบารมี
วิริยบารมี หมายถึง ความเพียร ความแกล้วกล้าที่ไม่เกรงกลัวต่ออุปสรรคใดๆ รวมถึงความกล้าที่จะพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 78 พุทธการกธรรม ธรรมสำหรับบ่มพระโพธิญาณ
พุทธการกธรรมนี้ ถือเป็นธรรมที่สำคัญอย่างยิ่ง หากพระโพธิสัตว์ปราศจากพุทธการกธรรมแล้ว ก็ไม่สามารถที่จะเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 70 ธรรมสโมธาน การประมวลรวมกันแห่งธรรม (3)
ธรรมสโมธาน เป็นธรรมอันสำคัญยิ่งที่จะยืนยันว่าพระโพธิสัตว์จะได้รับพุทธพยากรณ์เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งในอนาคต
ชนะครั้งที่ ๑ ของพระสัมมาสัมพุชัยทธเจ้า (ตอนที่ ๒ ชนะพญามาร)
โอกาสที่หาได้ยากที่สุดในการสร้างบารมีของสรรพสัตว์ทั้งหลาย คือ โอกาสที่ได้อัตภาพเป็นมนุษย์ แม้หมู่สัตว์เหล่าอื่นอีกเป็นจำนวนมาก ล้วน
ชัยชนะครั้งที่ 6 (ตอนที่ 4 ชนะสัจจกนิครนถ์)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความปรากฏขึ้นแห่งบุคคลเอก เป็นความปรากฏแห่งจักษุใหญ่ แห่งแสงสว่างใหญ่ แห่งโอภาสใหญ่ แห่งอนุตตริยะ เป็นการกระทำให้แจ้งซึ่งปฏิสัมภิทา ๔ เป็นการแทงตลอดธาตุธรรม
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - เป็นผู้ประเสริฐด้วยการปฏิบัติ
พระอินทร์ได้ฟังคำอธิบายเช่นนั้น ทรงหายสงสัยในการบำเพ็ญตบะของพระฤๅษี ด้วยตระหนักชัดแล้วว่า ท่านไม่ได้ปรารถนาตำแหน่งท้าวสักกะ หรือความเป็นพระราชา มหาเศรษฐีเลย หากท่านมีความปรารถนาที่ยิ่งใหญ่ คือ ปรารถนา อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ อันประเสริฐ ซึ่งยากที่มนุษย์ธรรมดาจะกล้าคิดกล้าทำ
มงคลที่ ๑๔ ทำงานไม่คั่งค้าง - ผลของความเพียรพยายาม
ความขยันหมั่นเพียร เป็นบ่อเกิดแห่งความสำเร็จทุกประการ บุคคลผู้มีความเพียรไม่เบื่อหน่ายในการงานที่ตนกระทำ หมั่นฝึกฝนอบรมคุณธรรม สั่งสมความดี ประกอบบุญกุศลอยู่เป็นนิตย์ ย่อมได้รับความสุขและความสำเร็จ บุญกุศลที่ทำไว้จะเป็นเสบียงติดตัวข้ามภพข้ามชาติ ข้ามห้วงวัฏสงสารอันยาวไกล
เวสสันดรชาดก ตอนที่ ๑ ( ปฐมเหตุ )
พระบรมโพธิสัตว์ได้ดำรงตนเป็นแบบอย่างนักสร้างบารมี ตั้งแต่ประสูติจากพระครรภ์ของพระมารดา ก็แบพระหัตถ์ออก และกล่าวกับพระมารดาว่า"เสด็จแม่ มีสิ่งใดให้ลูกได้ทำทานบ้าง" นี่..พระองค์เกิดมาเพื่อการนี้ เพื่อบ่มบารมีให้แก่รอบ ครั้นพระชนมายุได้เพียง ๘ ชันษา ประทับอยู่บนปราสาทตามลำพัง ทรงคิดที่จะบริจาคทานว่า "เราพึงให้หัวใจ ดวงตา เนื้อ เลือด และร่างกายที่มีอยู่ทั้งหมดนี้ หากใครมาขอเรา ให้เราได้ยิน เราก็จะพึงให้ด้วยความยินดี"
ความเชื่อที่ไม่ถูกต้องในเรื่องของสมาธิ