พระพากุลเถระ ตอน สร้างมหากุศลใหญ่ในสมัยพระปทุมุตตรพุทธเจ้า
ในยุคของพระปทุมุตตรพุทธเจ้า พระพากุลเถระได้เกิดเป็นบุตรเศรษฐี ในพระนครหงสาวดี อยู่มาวันหนึ่งบุตรเศรษฐีได้เดินทางเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าเพื่อฟังพระธรรมเทศนา โดยยืนฟังอยู่ด้านท้ายของเหล่าพุทธบริษัททั้งหลาย
พระพากุลเถระ ตอน สร้างมหากุศลใหญ่ในสมัยพระกัสสปพุทธเจ้า
ครั้นในยุคของพระกัสสปพุทธเจ้า พระพากุลเถระได้เกิดเป็นฆราวาสผู้ครองเรือน อาศัยอยู่ในกรุงพาราณสี
พระพากุลเถระ ตอน ได้เป็นเอตทัคคะด้านมีอาพาธน้อย
ในภัทรกัปนี้ พระพากุลเถระได้มาเกิดในตระกูลมหาเศรษฐี แห่งนครโกสัมพี ช่วงก่อนที่พระสมณโคดมพุทธเจ้าจะอุบัติขึ้น และในระหว่างที่ท่านถือปฏิสนธิอยู่ในครรภ์มารดา ก็ทำ ให้ตระกูลของท่านประสบลาภผลอันเลิศถึงขนาดทำ ให้มารดาของท่านคิดว่า ลูกของเราคนนี้ต้องเป็นเด็กมีบุญญาธิการ และถ้าลูกคนนี้เป็นผู้ไม่มีโรคและมีอายุยืนอยู่ได้นานขนาดไหน ก็จะเป็นผู้บันดาลสมบัติให้แก่เราตลอดกาลยาวนานขนาดนั้น
พระพากุลเถระ ตอน อานิสงส์จากการทำให้พระภิกษุหายจากอาพาธ
การที่พุทธสาวกของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์ใดพระองค์หนึ่งจะได้อภิญญาใหญ่ ต้องมีบุญบารมีที่สั่งสมมาอย่างเต็มเปี่ยม เพราะในสมัยพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์หนึ่ง จะมีผู้ที่สำเร็จอภิญญาใหญ่ได้เพียง 4 ท่านเท่านั้น และพระสาวกที่เหลือแม้จะได้อภิญญา แต่ก็ไม่เรียกว่าได้อภิญญาใหญ่ เพราะสามารถระลึกชาติย้อนไปได้เพียงแสนกัปเท่านั้น แต่ท่านผู้บรรลุอภิญญาใหญ่ จะสามารถระลึกชาติได้ถึงหนึ่งอสงไขยกับอีกแสนกัป
บูรพกษัตริย์ไทยกับพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก คือ คัมภีร์ที่บันทึกคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า สันนิษฐานว่าพระไตรปิฎกภาษาบาลีเข้ามาสู่ประเทศไทยใน ๒ ช่วง คือประมาณปี พ.ศ. ๑๖๐๐ เมื่อพระพุทธศาสนาเถรวาทเผยแผ่จากประเทศพม่าเข้าสู่ภาคเหนือของไทย และประมาณปี พ.ศ. ๑๘๐๐ เมื่อพระพุทธศาสนาเผยแผ่ จากประเทศศรีลังกามาทางนครศรีธรรมราช
มหาเศรษฐีกากวฬิยะ
ภิกษุทั้งหลาย บาปกรรมแม้ประมาณน้อยที่บุคคลบางคนทำแล้ว บาปกรรมนั้น ย่อมนำเขาไปนรกได้ บาปกรรมประมาณน้อยอย่างเดียวกันนั้น บางคนทำแล้ว กรรมนั้นเป็นทิฏฐธรรมเวทนียกรรมที่ให้ผลในภพปัจจุบัน
การสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 3
การสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 3 รายละเอียด และมูลเหตุของการสังคายนา
มหาธรรมยาตราธุดงค์ธรรมชัย เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้อง
มหาธรรมยาตราธุดงค์ธรรมชัย คืออะไร ธรรมยาตรา คำนี้ หลายคนอาจไม่เคยได้ยิน แต่คำนี้มีมานานแล้ว โดยมีวัตถุประสงค์คือ เพื่อปฏิบัติสมาธิในท่าเดิน ฝึกสติ และสืบทอดธรรมเนียมที่มีมาแต่โบราณกาล คือ การเดินจาริก "ธรรมจาริก"
ความรู้เรื่องธรรมกาย
ธรรมกาย คือ อะไร ในตัวของเรามีธรรมกายหรือไม่ ธรรมกายมีลักษณะอย่างไร ต้องประพฤติธรรมหมวดใด จึงจะเข้าถึงธรรมกาย การปฏิบัติเพื่อให้เข้าถึงธรรมกาย ต้องทำอย่างไร หลักฐานคำว่า “ธรรมกาย” มีอยู่ที่ใดบ้าง รวมข้อมูลธรรมกาย ที่นี่
กระแสแห่งกรรม (๒)
ภิกษุทั้งหลาย โลสกติสสะผู้นี้ ได้ประกอบกรรมคือ ความเป็นผู้มีลาภน้อย และความเป็นผู้ได้อริยธรรมของตนด้วยตนเอง เนื่องด้วยครั้งก่อนเธอกระทำอันตรายลาภของผู้อื่น จึงเป็นผู้มีลาภน้อย แต่เป็นผู้บรรลุอริยธรรมได้ด้วยผลที่บำเพ็ญวิปัสสนา คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา