สัมมา อะระหัง ความหมายของคำว่า “สัมมา อะระหัง”
พระโบราณาจารย์ทั้งหลายกล่าวว่า "สัมมา อะระหัง เป้นพุทธานุสสติ มีประโยชน์ในการเจริญภาวนากัมมัฏฐานมาก"
กาญจนักขันธชาดก ชาดกว่าด้วยธรรมะมีค่าดั่งทองคำ
ในอดีตกาล ณ กรุงพาราณสี มีชายชาวนาผู้ขยันคนหนึ่ง ได้จับจองที่ดินรกร้างว่างเปล่า เพื่อถากถางเป็นที่นาของตน ซึ่งที่ดินแห่งนี้เมื่อในอดีต เคยเป็นที่ตั้งบ้านของเศรษฐีผู้มาก่อน วันหนึ่งขณะที่กำลังไถนาอยู่นั้น ผานไถ ( เหล็กสำหรับสวมหัวหมูเครื่องไถ) ก็ไปสะดุดติดอยู่กับของแข็งๆ ท่อนหนึ่งในดิน เขาจึงเอามือขุดคุ้ยก้อนดินดู ปรากฎเป็นแท่งทองคำขนาดใหญ่ฝังอยู่ในดิน
ตั่วเฮียกลับใจ บวชรุ่นกองพล
"ถ้าคนอย่างผมบวชได้ คนบนโลกนี้ก็บวชได้หมด" แล้วผู้ชายคนหนึ่งก็ได้มาบวช ตามคำชักชวนของคนรู้จัก คนอย่างเขาซึ่งไม่น่าที่จะบวชได้ เพราะมีพื้นฐานความรู้ทางพระพุทธศาสนาน้อย ใช้ชีวิตอยู่เมืองนอกจนจบปริญญาโท ซึมซับแต่อริยธรรมเมืองนอก และผ่านการทำความชั่ว จนหลายคนให้ฉายาว่า "ตั่วเฮีย"
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (2)
ผู้ใดมีความเชื่อในตถาคต ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว มีศีลอันงามที่พระอริยะสรรเสริญ มีความเลื่อมใสในพระสงฆ์ และมีความเห็นตรง บัณฑิตทั้งหลายกล่าวผู้นั้นว่า ไม่เป็นคนขัดสน ชีวิตของผู้นั้นไม่เปล่าประโยชน์ เพราะเหตุนั้น ผู้มีปัญญาเมื่อนึกถึงคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย พึงประกอบศรัทธา ศีล ปสาทะ และความเห็นธรรมเนืองๆ เถิด
กระแสแห่งกรรม (๒)
ภิกษุทั้งหลาย โลสกติสสะผู้นี้ ได้ประกอบกรรมคือ ความเป็นผู้มีลาภน้อย และความเป็นผู้ได้อริยธรรมของตนด้วยตนเอง เนื่องด้วยครั้งก่อนเธอกระทำอันตรายลาภของผู้อื่น จึงเป็นผู้มีลาภน้อย แต่เป็นผู้บรรลุอริยธรรมได้ด้วยผลที่บำเพ็ญวิปัสสนา คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
มงคลที่ ๒๓ มีความถ่อมตน - พระทัพพมัลลบุตร (๒)
ท่านพระทัพพมัลลบุตร ถึงแม้ว่าจะบรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์ เสร็จกิจของการประพฤติพรหมจรรย์แล้ว ท่านยังมีความเสียสละ รับเป็นธุระในกิจการงาน ของสงฆ์ เป็นการกระทำที่น่ายกย่อง และเป็นแบบอย่างในการสร้างบารมี
เปรต ๑๒ ตระกูล (๔)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราเห็นคนบางคนในโลกนี้ ถูกสักการะครอบงำย่ำยีจิตแล้ว เมื่อตายไปเพราะกายแตกทำลาย ต้องเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก อนึ่ง เราเห็นคนบางคนในโลกนี้อันความเสื่อมสักการะครอบงำย่ำยีจิต เมื่อตายไปเพราะกายแตกทำลายต้องเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก
วัดของโลก เพื่อฟื้นฟูศีลธรรม
การฟื้นฟูศีลธรรมโลก ฟื้นฟูศีลธรรม คือ การฟื้นฟูนิสัยรักศีล รักธรรมรักความถูกต้อง รักความดีงามการที่ประชาชนในชาติจะมีนิสัยรักศีลรักธรรมได้นั้นจะต้องได้รับการฝึก การอบรม บ่มเพาะนิสัยอย่างถูกต้องจากบุคคลที่มีความรู้เรื่องศีลธรรมและสามารถนำความรู้นั้นมาประพฤติปฏิบัติจนติดเป็นนิสัย
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร (๒)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ทางสุดโต่งสองอย่างบรรพชิตไม่ควรเสพ คือ การทรมานตัวเองให้ลำบากและการประกอบพัวพันในกาม
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (๒)
ทุกชีวิตล้วนมีการแสวงหา บ้างแสวงหาปัจจัยสี่เพื่อใช้ในการดำรงชีวิต บ้างแสวงหาทรัพย์สมบัติ ชื่อเสียงเกียรติยศ ซึ่งเป็นโลกียทรัพย์ภายนอก แต่จะมีใคร