การได้ฟังธรรมเป็นลาภอันประเสริฐ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสว่า “การบังเกิดขึ้นของพระพุทธเจ้ายากอย่างยิ่ง แต่การได้ฟังพระสัทธรรมยากอย่างยิ่งกว่า”
การหว่านไถอย่างอริยะ
ผู้ใดรู้ขันธ์ที่เคยอาศัยในกาลก่อน แลเห็นสวรรค์ และอบาย บรรลุพระอรหัตอันเป็นที่สิ้นชาติ อยู่จบพรหมจรรย์แล้วเพราะรู้ยิ่ง เป็นมุนี บุคคลพึงให้ไทยธรรมในผู้นี้ ทานที่ให้แล้วในท่านผู้นี้มีผลมาก ทักษิณาย่อมสำเร็จแก่บุคคลผู้บูชาอย่างนี้
สรณะอันเกษม
มนุษย์เป็นอันมาก ถูกภัยคุกคามแล้ว ย่อมถึงภูเขา ป่า อาราม และรุกขเจดีย์ว่าเป็นที่พึ่ง สรณะนั่นแลไม่เกษม สรณะนั่นไม่อุดม เพราะบุคคลอาศัยสรณะนั่น ย่อมไม่พ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้ ส่วนบุคคลใดถึงพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ว่าเป็นที่พึ่ง ย่อมเห็นอริยสัจ ๔ (คือ) ทุกข์ เหตุให้เกิดทุกข์ ความก้าวล่วงทุกข์ และมรรคมีองค์ ๘ อันประเสริฐ ซึ่งยังสัตว์ให้ถึงความสงบแห่งทุกข์ ด้วยปัญญาอันชอบ สรณะนั่นแลของบุคคลนั้นเกษม สรณะนั่นอุดม เพราะบุคคลอาศัยสรณะนั่น ย่อมพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้
"ธัมมัสสวนมัย" ฟังธรรมเป็นนิจจิตแจ่มใส
“กาเลน ธมฺมสฺสวนํ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ การฟังธรรมตามกาลเป็นมงคลอย่างยิ่ง”
ปฐมเทศนาในวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เนื่องจากเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นเมื่อ ๔๕ ปี ก่อนพุทธศักราช ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๘ คือ วันเพ็ญเดือนอาสาฬหะ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี อันเป็นวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา คือ ธัมมจักกัปปวัตนสูตร แก่ปัญจวัคคีย์
เนื้อหาของบทสวดธัมมจักกัปปวัตนสูตร
คำถาม : มีคุณโยมท่านหนึ่งถามมาว่า บทสวดธัมมจักกัปปวัตนสูตร มีเนื้อหาใจความสำคัญอย่างไรบ้าง
พระอรหันต์ของโลก
โลกนี้ โลกหน้า เรารู้อยู่ จึงประกาศไว้ดีแล้ว เราเป็นผู้ตรัสรู้เอง รู้ชัดโลกทั้งปวง ซึ่งแออัดด้วยมาร ทั้งที่เป็นโลกอันมัจจุไปไม่ถึง เรารู้ได้ด้วยปัญญาอันยิ่ง ได้เปิดประตูอมตะอันปลอดโปร่ง เพื่อบรรลุพระนิพพาน กระแสมารผู้ลามก เราตัดแล้ว กำจัดแล้ว ทำให้ปราศจากความฮึกเหิมแล้ว พวกเธอจงเป็นผู้มากไปด้วยปราโมทย์ ปรารถนาพระนิพพาน ซึ่งเป็นแดนเกษมเถิด
Dhammacakkapavattana Sutta: The Sermon : 3. The Noble Middle Way [majjhima patipada]
Anyone who wishes to escape from the Cycle of Existence [vadda samara], who has gone to all the trouble to re-nounce the life of a householder
The Four Noble Truths : 2. Explanation of the Noble Truth of the Origin of Suffering
explanation of the Origin of Suffering includes all four of the Origin of Suffering’s implications in the light of the Four Noble Truths:
ผู้มีราตรีเดียวเจริญ
บุคคลไม่ควรคำนึงถึงสิ่งที่ล่วงแล้ว ไม่ควรมุ่งหวังสิ่งที่ยังไม่มาถึง สิ่งใดล่วงไปแล้ว สิ่งนั้นก็เป็นอันละไปแล้ว และสิ่งที่ยังไม่มาถึงก็เป็นอันยังไม่ถึง ก็บุคคลใดเห็นแจ้งธรรมปัจจุบันไม่ง่อนแง่นไม่คลอนแคลนในธรรมนั้น ๆ