คนเช่นอสูร คนเช่นเทวดา
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลในโลก มี ๔ จำพวก คือบุคคลเช่นกับอสูร มีคนเช่นกับอสูรเป็นบริวาร บุคคลเช่นกับอสูร มีคนเช่นกับเทวดาเป็นบริวาร บุคคลเช่นกับเทวดา มีคนเช่นอสูรเป็นบริวาร และบุคคลเช่นกับเทวดา มีคนเช่นกับเทวดาเป็นบริวาร
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - มหาทาน คือ เสบียงสู่ความหลุดพ้น
วันหนึ่งพระเจ้าเภรุวมหาราชทอดพระเนตรโรงทานของพระองค์ ทรงดำริว่า ปฏิคาหก ผู้รับทานของเรานี้ ล้วนเป็นผู้ทุศีล บริโภคทานแล้วไม่ทำให้จิตใจของทายกยินดีเลย ทำอย่างไรหนอเราจึงจะได้เนื้อนาบุญ เราปรารถนาจะถวายทานกับพระปัจเจกพุทธเจ้า
ปชาบดีเถรี ผู้รัตตัญญู (๑)
ในที่ใด ไม่มีความแก่หรือความตาย ไม่มีการสมาคมด้วยสัตว์และสังขารอันไม่เป็นที่รัก ไม่มีการพลัดพรากจากสัตว์และสังขารอันเป็นที่รัก ที่นั้นนักปราชญ์กล่าวว่าเป็นอสังขตสถาน
วิสาขามหาอุบาสิกา (มหาปราสาท)
พระเจ้ามหาปนาทนั้นมีปราสาทล้วนแล้วไปด้วยทอง กว้าง ๑๖ ชั่วธนูตก สูง ๑ พันชั่วธนู และปราสาทนั้นมีพื้น ๗ ชั้น ประกอบไปด้วยธง สำเร็จด้วยแก้วมีสีเขียว มีนางฟ้อน ๖ พัน แบ่งออกเป็น ๗ พวก ฟ้อนรำอยู่ในปราสาทนั้น
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - ๓๐ ปีที่รอคอย
"ท่านอาจารย์ผู้ว่างเปล่า อย่าทำตนเป็นผู้ไม่ว่างอยู่เลย ท่านไม่รู้ตัวหรือว่าขณะนี้ท่านเป็นผู้ที่ประมาทแล้ว ตัวของท่านเป็นเสมือนแผ่นกระดานสำหรับให้คนทั้งหลายเดินข้ามไป ท่านเป็นที่พึ่งให้แก่คนอื่นก็จริงอยู่ แต่ท่านไม่สามารถเป็นที่พึ่งให้กับตนเองได้ แล้วจะมีประโยชน์อะไร..."
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๔ (โชติบาลกุมาร)
ความดี คนดีทำง่าย ความดี คนชั่วทำยาก ความชั่ว คนชั่วทำง่าย ความชั่ว อริยบุคคลทำได้ยาก คนดี หมายถึงผู้ที่มีใจสะอาด บริสุทธิ์ ปราศจากอกุศล มีศีล ๕ เป็นปกติ
นิพพาน บทสรุปของชีวิตในสังสารวัฏ ตอนที่ 3
ว่า นิพพานมีอย่างเดียว แต่มองเป็น 2 ด้าน ด้านที่หนึ่งคือ นิพพานในแง่ของความสิ้นกิเลส ซึ่งมีผลต่อการติดต่อเกี่ยวข้องกับโลกภายนอก หรือต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน ด้านที่สอง คือ นิพพานในแง่ที่เป็นภาวะจำเพาะล้วนๆ แท้ๆต
ภพสาม คุกใหญ่ของสรรพสัตว์
ชนทั้งหลายบางพวก ย่อมเข้าถึงครรภ์ ผู้ทำบาปอกุศล ย่อมเข้าถึงนรก ผู้สั่งสมความดีเป็นเหตุสุคติ ย่อมไปสู่สวรรค์ ผู้ไม่มีกิเลสอาสวะ ย่อมปรินิพพาน
อนาถบิณฑิกเศรษฐี (ก่อนลมหายเฮือกสุดท้าย)
สังขารทั้งหลายไม่เที่ยงหนอ มีความเกิดขึ้น และเสื่อมไปเป็นธรรมดา ครั้นเกิดขึ้นแล้วย่อมดับไป การเข้าไปสงบระงับสังขารเหล่านั้น นำสุขมาให้
มงคลที่ 38 - จิตเกษม - ปล่อยวางอย่างพระอริยะ
พระบรมศาสดาประทับยืนที่เหนือศีรษะของท่าน ตรัสให้เห็นทุกข์เห็นโทษของสังขารร่างกายนี้ว่า "กายของเธอนี้อยู่อีกไม่นาน เพราะจะปราศจากวิญญาณแล้ว หาอุปการะมิได้ อีกไม่นานต้องนอนบนแผ่นดิน เหมือนท่อนไม้ที่ไม่มีประโยชน์"