เป็น อยู่ คือ...วิถีชาวเขมร ตอนที่ 2
ศาสนา ศาสนาประจำชาติของกัมพูชาคือศาสนาพุทธ ซึ่งมีผู้สันนิษฐานว่าเปลี่ยนจากศาสนาพราหมณ์ที่ได้รับอิทธิพลมาจากชาวอินเดีย ชาวกัมพูชานับถือศาสนาพุทธร้อยละ 95 ศาสนาอิสลามร้อยละ 3 ศาสนาคริสต์ร้อยละ 1.7 ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดูร้อยละ 0.3
เป็น อยู่ คือ...วิถีชาวเขมร
เป็น อยู่ คือ.... วิถีชาวเขมร ในอดีตนั้นชนชาติที่อาศัยอยู่ในดินแดนนี้คือขอม ต่อมาเรียกว่าเขมรจนเป็นกัมพูชาเช่นปัจจุบัน ประชากรที่อาศัยในกัมพูชาส่วนมากเป็นชาวกัมพูชาร้อยละ 96 นอกจากนั้นเป็นชาวเวียดนาม จีน และอื่นๆ
ปกบ้านครองเมือง ของประเทศกัมพูชา
ปกบ้านครองเมือง กัมพูชาเคยตกเป็นอาณานิคมของประเทศฝรั่งเศส ก่อนได้รับเอกราชในปี พ.ศ. 2496 แต่หลังจากได้รับเอกราชมาแล้วก็เกิดความแตกแยกภายในประเทศระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนการปกครองระบอบคอมมิวนิสต์กับฝ่ายประชาธิปไตยอยู่นานนับสิบปีกว่าความขัดแย้งจะยุติลง
ทำมาค้าขาย และเป็น อยู่ คือ...วิถีชาวลาว
ทำมาค้าขาย อาชีพหลักของชาวลาวคือ เกษตรกร รวมถึงประมงและป้าไม้ รองลงมาคือ งามบริการละงานอุตสาหกรรม ตามลำดับ
ทำเลที่ตั้ง ของประเทศลาว
ทำเลที่ตั้ง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวเป็นประเทศเพื่อนบ้านถึง 5 ประเทศ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นประเทศที่มีอิทธิพลมากกว่า ทำให้ในหลายๆ เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ ลาวต้องตกอยู่ในสถานะเป็น รัฐกันชน
เป็น อยู่ คือ ... วิถีชาวไทย
ศาสนา ประเทศไทยให้เสรีในการนับถือศาสนา คนไทยจึงเลยเลือกถือศาสนาต่างๆได้ตามความสมัครใจ ประชากรส่วนมากนับถือศาสนาพุทธ ซึ่งก็ได้นับถือสืบต่อการมาช้านาน จนกลายเป็นรากฐานของความเชื่อ วัฒนธรรม ประเพณี ส่วนใหญ่ และเป็นเอกลักษณ์ของชาติในปัจจุบัน
ทำมาค้าขาย ของประเทศไทย
อาชีพ ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศไทย ประกอบอาชีพเกษตรกร ซึ่งเป็นอาชีพหลักของคนไทยมาช้านา อาชีพเกษตรกรมีความหมายรวมๆ ถึง อาชีพเพาะปลูก พืชสวน พืชไร่ ทำยาพารา เลี้ยงสัตว์ ทำประมง รองลงมาคืออาชีพด้านอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม นอกจากนี้เป็นการประกอบอาชีพอื่นๆ ได้แก่ อุตสาหกรรม บริการ รับราชการ รัฐวิสาหกิจ การเมือง แพทย์ ทนายความ ตลอดจนผู้ใช้ฝีมือแรงงาน ผู้ที่มีอาชีพทำนา เราเรียกว่า ชาวนา
นามนี้สำคัญไฉน ของประเทศมาเลเซีย
นามนี้สำคัญไฉน มหาเฉร์ บิน โมฮัมหมัด นายกรัฐมนตรีคนที่ 4 ของมาเลเซีย ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524 – 2546 เป็นผู้ที่ทรงอิทธิพลของประเทศมาเลเซีย นำประเทศสู่การพัฒนาด้านสังคมและเศรษฐกิจด้วยโครงการ “วิสัยทัศน์ 2020 ”
พูดจาภาษามลายูและรู้จักศาสนาของชาวมาเลเซีย
ภาษาราชการ คือ ภาษามลายู (หรือภาษามาเลย์) ส่วนภาษาอื่นๆที่ใช้ในการติดต่อได้แก่ ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน และภาษาพื้นเมือง
เป็น อยู่ คือ วิถีชีวิตชาวมาเลเซีย
สังคมมาเลเซียมีลักษณ์เป็น พหุสังคม (Multiracial Society) ประกอบด้วยประชากรหลากหลายเชื้อชาติ ได้แก่ มาเลย์ จีน และอินเดียแต่ละเชื้อชาติมีความแตกต่างทางภาษา ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตความเป็นอยู่