ตักบาตรพระ จังหวัดชัยภูมิ ครั้งที่2
การจัดตักบาตรพระ 3,500กว่ารูปในครั้งนี้ ได้รับความมือจากภาครัฐและเอกชนเป็นอย่างดีมากๆ เพราะทุกหน่วยงานนั้นเชื่อมั่นในทีมงานลูกพระธัมฯชัยภูมิว่า ทำได้อย่างแน่นอน และครั้งนี้ยังมีเด็กดี V-Star จากโรงเรียนทุกโรงเรียนในอำเภอแก้งคร้อ มาช่วยเตรียมงานกันเป็นอย่างดี
ผลการปฏิบัติธรรม Peace revolution รุ่นที่ 3
ประสบการณ์ภายในของเยาวชน 17 คน จาก 14 ประเทศ ที่เดินทางมาปฏิบัติธรรมร่วมกัน ตั้งแต่วันที่ 20 มิถุนายน ถึง 21 กรกฎาคม พ.ศ.2553
พระบรมธาตุในประเทศไทย ตอนที่ 4
พระบรมธาตุในประเทศไทย วัดทุ่งธาตุ สันนิษฐานว่า บรรจุพระบรมธาตุฝ่ามือซ้าย, วัดผาใหญ่วชิรวงศ์ บรรจุพระบรมธาตุเล็กใสได้จากศรีลังกา และอรหันตธาตุลักษณะคล้ายเม็ดในพุทรา, วัดพระธาตุบังพวน พระบรมธาตุมีอายุเกิน 2000 ปีแล้ว ฯลฯ
พญานาคแม่น้ำโขง
เรื่องของพญานาค ยังเป็นที่ถกเถียงกันโดยทั่วไปว่า จริงหรือไม่ แต่ที่แน่ๆทุกปีจะมีผู้คนจำนวนมาก เดินทางไปยังริมฝั่งแม่น้ำโขง ในวันออกพรรษา เพื่อรอชมบั้งไฟพญานาค บางคนก็ได้เห็น บางคนก็ผิดหวัง...Case Study ตอนนี้เป็นตอนพิเศษ เป็นเรื่องราวจากประสบการณ์ของผู้เขียน เล่าเหตุการณ์ที่เธอได้พบเห็นพญานาคแบบจะจะ ด้วยตาเนื้อ...
เครือข่ายพุทธรุมต้าน"อีสานเบียร์"รุกล้ำวัฒนธรรมอีสาน
สธ.เตือนโรคฉี่หนูระบาด
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข เผยโรคฉี่หนูเริ่มระบาดหนัก โดยพบที่ภาคอีสานมากที่สุด เตือนหลีกเลี่ยงการเดินลุยน้ำลุยโคลนช่วงหน้าฝน
ประเพณีบุญบั้งไฟ ประวัติความเป็นมาของบุญบั้งไฟ ภาพงานบุญบั้งไฟ
ประเพณีบุญบั้งไฟ ประวัติความเป็นมาของบุญบั้งไฟประเพณีบุญบั้งไฟในแง่ต่างๆ ภาพงานบุญบั้งไฟ ความรู้ทั่วไปเรื่องบุญบั้งไฟ
ประเพณีไหลเรือไฟ ประวัติความเป็นมาและความสำคัญของการไหลเรือไฟ
ประเพณีไหลเรือไฟ เป็นประเพณีของชาวอีสาน ภาษาท้องถิ่นเรียกว่า “เฮือไฟ” จัดขึ้นในช่วงเทศกาลออกพรรษา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อบูชารอยพระพุทธบาทของพระเจ้า ณ ริมฝั่งแม่น้ำนัมทามหานที
7 จุดชมบั้งไฟพญานาค
1. อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย เป็นจุดชมที่มีชื่อเสียงที่สุด เดินทางได้สะดวก อยู่ไม่ไกลจากตัวจังหวัด ซึ่งอำเภอโพนพิสัยมีจุดชมบั้งไฟพญานาคหลายจุดครับ ที่แนะนำจุดแรก คือ บริเวณพุทธอุทยานนานาชาติ เป็นจุดที่เมื่อสองปีก่อนมีการบันทึกว่าพบบั้งไฟพญานาคมากที่สุด จุดนี้เองเป็นจุดที่มีการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา มีการปล่อยโคม (จัดกิจกรรมโดยวัดพระธรรมกาย)
กากะเยีย ขั้นกะเยีย...ผสานศิลป์ถิ่นอีสาน
ช่วงพุทธศตวรรษที่ 19-22 ดินแดนลุ่มแม่น้ำโขงแถบประเทศลาว ตลอดจนภาคอีสานของไทยเคยเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านช้างที่มีความรุ่งเรืองด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ และศิลปวัฒนธรรมโดยเฉพาะรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชแห่งล้านช้างเป็นยุคที่มีความสัมพันธ์แน่นแฟ้นกับอาณาจักรล้านนา จึงได้น้อมรับเอาอิทธิพลทางพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมการจารคัมภีร์ใบลานด้วยอักษรธรรมตามแบบฉบับล้านนามาพัฒนาจนเป็นอักษรธรรมอีสานหรืออักษรธรรมลาวเพื่อใช้จารจารึกคัมภีร์ในอาณาจักรล้านช้าง