กฐินสัมฤทธิ์ เยาวชนชาวปวากอญอ
วันหนึ่งหลังจากสวดมนต์นั่งสมาธิแล้ว พระอาจารย์ได้นำละครฟื้นฟูศีลธรรมโลก เรื่อง “น้องแพรวกฐินสัมฤทธิ์” มาฉายให้ชาวบ้านและเยาวชนได้ดูกัน หลังจากที่ได้ดูเสร็จ ทุกคนประทับใจมาก เห็นแววตาของเด็กๆและเยาวชน เป็นประกายฉายแสงแห่งความเป็นเด็กเก่งและดี จึงลองสอบถามดูว่า “ไหนใครอยากเป็นประธานกฐินสัมฤทธิ์เหมือนกับน้องแพรวบ้าง” ปรากฏว่า
โกสัมพิยชาดก ชาดกว่าด้วยอยู่คนเดียวดีกว่าร่วมกับคนพาล
“ ต่อไปพวกเราอย่าได้ไปกราบไหว้ภิกษุพวกนี้อีกนะ ” “ พวกเราจะไม่ถวายบิณฑบาตด้วย ทำแบบนี้ ภิกษุเหล่านี้จะได้สำนึกเสียบ้าง” เมื่อภิกษุเหล่านั้นถูกพวกอุบาสกลงทัณฑกรรมเช่นนั้นจึงสำนึกได้ พากันไปยังเมืองสาวัตถีกราบทูลขอขมาโทษต่อพระผู้มีพระภาคเจ้า
อลป.จีนยืม"ยิ้มสยาม"ไปใช้
อปจายนมัย : หนทางสู่ความรุ่งโรจน์
อปจายนมัย มาจากศัพท์ว่า อป (ปราศ,หลีก) จายะ (ให้เกียรติ, เคารพ, บูชา, สักการะ) มยะ (สำเร็จ, เกิดจาก) รวมความว่า บุญที่เกิดจากการนอบน้อมหรือเคารพบูชาผู้ใหญ่ที่มีคุณธรรม ที่เป็นบุญเพราะผู้มีความอ่อนน้อมย่อมมีจิตที่อ่อนโยน ไม่แข็งกระด้าง ซึ่งเกิดจากการพิจารณาเห็นคุณธรรมความดีของผู้ใหญ่ที่อุดมด้วยวัยวุฒิคุณวุฒิ มีความรู้ความสามารถ และมีศีลมีธรรม
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๔)
ความงามยามราตรีอยู่ที่รัศมีแห่งแสงจันทร์ ความงามของดวงตะวันอยู่ที่การทอแสงให้กับสรรพสัตว์และสรรพสิ่งทั้งหลาย
เนมิราชชาดกบําเพ็ญอธิษฐานบารมี(4)
ชนเหล่าใดไม่มีเพื่อนสอง อยู่คนเดียว ย่อมไม่รื่นรมย์ ย่อมไม่ได้ปีติเกิดแต่วิเวก ชนเหล่านั้นถึงจะมีโภคสมบัติเสมอด้วยพระอินทร์ ก็ชื่อว่าเป็นคนเข็ญใจ เพราะได้ความสุขที่ต้องอาศัยผู้อื่น
รู้จักกายที่แท้จริงของตัวเอง
สัตว์อันราคะย้อมแล้ว ถูกกองอวิชชาหุ้มห่อแล้ว จักไม่เห็นธรรมอันละเอียด ลึกซึ้ง ยากที่จะเห็น ละเอียดยิ่ง อันจะยังสัตว์ให้ถึงธรรมที่ทวนกระแส คือ นิพพาน
ทศชาติชาดก เรื่องเนมิราช ผู้ยิ่งด้วยอธิษฐานบารมี ตอนที่ 4
วันหนึ่ง ฤษีตนหนึ่งนุ่งห่มเรียบร้อยเหาะมาสู่กรุงพาราณสีเพื่อบิณฑบาต ได้ประคองอุ้มภาชนะภิกษาแสดงตนเดินผ่านมาถึงประตูเรือนของปุโรหิต ปุโรหิตเห็นอากัปกิริยาอันสงบเรียบร้อยของท่านก็ เกิดความเลื่อมใส จึงนิมนต์ให้เข้ามานั่งในเรือน ได้ทำการต้อนรับด้วยอาหารคาวหวาน จนอิ่มหนำสำราญ
‘จิตอาสา’ ละครปลุกจิตสำนึกวัยรุ่น
พิธีบวงสรวงถอดเสาชิงช้า