อยู่ไกลก็เหมือนใกล้
พระพุทธเจ้าเป็นอจินไตย พระธรรมของพระพุทธเจ้าก็เป็นอจินไตย วิบากของบุคคลผู้เลื่อมใสในพระพุทธเจ้า และพระธรรมของพระพุทธเจ้า ซึ่งเป็นอจินไตย ก็เป็นอจินไตย
95 ปี วิชชาธรรมกาย
คำว่า “ธรรมกาย” มีการพูดถึงมากขึ้นเรื่อยๆ ตั้งแต่เมื่อพระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน้ำภาษีเจริญ ได้ปฏิบัติธรรมเจริญสมาธิภาวนาจนได้บรรลุธรรมกาย เมื่อวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10 ปี พ.ศ. 2460 ณ วัดโบสถ์บน ต.บางคูเวียง อ.บางกรวย จ.นนทบุรี
ความรู้เรื่องธรรมกาย
ธรรมกาย คือ อะไร ในตัวของเรามีธรรมกายหรือไม่ ธรรมกายมีลักษณะอย่างไร ต้องประพฤติธรรมหมวดใด จึงจะเข้าถึงธรรมกาย การปฏิบัติเพื่อให้เข้าถึงธรรมกาย ต้องทำอย่างไร หลักฐานคำว่า “ธรรมกาย” มีอยู่ที่ใดบ้าง รวมข้อมูลธรรมกาย ที่นี่
ความสว่างของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
หิ่งห้อยนั้น ส่งแสงสว่างอยู่ชั่วเวลาพระอาทิตย์ยังไม่ขึ้น เมื่อพระอาทิตย์ขึ้นไปแล้ว หิ่งห้อยนั้นก็อับแสงและไม่สว่างได้เลย
นกน้อยผู้มีจิตเลื่อมใส
“เอวํ อจินฺติยา พุทฺธา พุทฺธธมฺมา อจินฺติยา อจินฺติเยสุ ปสนฺนานํ วิปาโก โหตฺยจินฺติโย พระพุทธเจ้าเป็นอจินไตย พระธรรมของพระพุทธเจ้าก็เป็นอจินไตย วิบากของเหล่าชนผู้เลื่อมใสในพระพุทธเจ้าและพระคุณของพระองค์ก็เป็นอจินไตยเช่นกัน” (ขุททกนิกาย อปทาน)
มงคลที่ ๑๔ ทำงานไม่คั่งค้าง - ทุ่มเทสร้างบารมี
เมื่อบุคคลปรารภจะทำอะไรแล้ว พึงกระทำสิ่งนั้นให้สำเร็จ ไม่ควรปล่อยทิ้งไว้ เพราะสิ่งเหล่านี้จะถ่วงความเจริญก้าวหน้าในชีวิตของเรา เหมือนดินพอกหางหมู ไม่เกิดประโยชน์อันใด ควรที่เราจะเร่งรีบขวนขวายทำงานให้สำเร็จสมบูรณ์ จะได้เป็นอุปนิสัยติดตัวเราไปข้ามภพข้ามชาติ เมื่อตัดสินใจจะทำอะไรต่อไป จะได้ไม่ต้องมาห่วงหน้าพะวงหลัง
94 ปี วิชชาธรรมกาย ข่าวจากหนังสือพิมพ์สยามรัฐ
“ธรรมกาย” คือ กายตรัสรู้ธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า, “วิชชา” แปลว่า ความรู้แจ้ง, “วิชชาธรรมกาย” แปลว่า ความรู้แจ้งเรื่องธรรมกาย
มงคลที่ ๑๖ ประพฤติธรรม - สอนตน สอนคนให้ถึงธรรม
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงธรรมด้วยอาการ ๓ อย่างด้วยกัน คือ ประการแรก ทรงสอนให้ผู้ฟังรู้ยิ่งเห็นจริงในสิ่งที่ควรรู้ควรเห็น ประการที่สอง ทรงแสดงธรรมมีเหตุที่ผู้ฟังจะสามารถตรองตามให้เห็นจริงตามที่พระองค์ทรง แสดงได้ และประการสุดท้าย ทรงแสดงธรรมเป็นอัศจรรย์ คือ ผู้ปฏิบัติตามธรรมนั้นจะได้รับประโยชน์ตามสมควรแก่การปฏิบัติ
อานิสงส์เอาของหอมฉาบทากุฏิ
บุคคลใดเอาของหอมทาพื้นพระคันธกุฎี ด้วยผลของกรรมนั้น ไม่ว่าเขาจะเกิดในชาติใดๆ จักเป็นผู้มีกลิ่นกายหอมทุกชาติไป จักเป็นผู้เจริญด้วยกลิ่นคือคุณแห่งศีล จักเป็นผู้ไม่มีอาสวะแล้วจักปรินิพพาน เพราะกรรมที่ทำไว้ดีนั้น และเพราะการตั้งเจตจำนงไว้
พิธีอุปสมบท ลำดับขั้นตอนการอุปสมบท
อุปสมบท แปลว่า การเข้าถึง คือการบวช เป็นศัพท์เฉพาะในพระพุทธศาสนา อุปสมบท ปัจจุบันใช้หมายถึงการบวชเป็นภิกษุและภิกษุณี เรียกเต็มว่า อุปสมบทกรรม หรือ อุปสัมปทา คู่กับคำว่า บรรพชา ซึ่งหมายถึงการบวชเป็นสามเณร