วัดบรรพตมโนรมย์
วัดบรรพตมโนรมย์ "วัดผาชัน" หรือเรียกตามลำห้วยที่อยู่ใกล้วัดว่า "วัดห้วยผาชัน" อยู่ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร ต่อมาเมื่อพุทธศักราช ๒๕๑๗ จึงได้ขอตั้งชื่ออย่างเป็นทางการว่า วัดบรรพตมโนรมย์
วัดพระธรรมกาย ชมวัดพระธรรมกาย แผนที่วัดพระธรรมกาย
ชมวัดพระธรรมกาย สถานที่ต่างๆ ภายในวัดพระธรรมกาย วัดพระธรรมกายสร้างขึ้นภายใต้แนวคิด “สร้างวัดให้เป็นวัด สร้างพระให้เป็นพระ และสร้างคนให้เป็นคนดี” ตามหลักปฏิรูปเทส 4 ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ภาพชีวิตที่ต้องก้าวต่อไปบนพื้นน้ำ ของชาวกรุง
ภาพการดำเนินชีวิตท่ามกลางวิกฤติ "น้ำ" ของชาวกรุง กลายเป็นภาพที่ชินตาไปแล้วในช่วงนี้ ใครเลยจะรู้ว่า ภาพที่เคยเห็นแค่ในหนัง จะกลับกลายเป็นเรื่องราวที่เกิดขึ้นจริง
วัดหัตถสารเกษตร
พระยาหัตถสารศุภกิจกับคุณนายจอนได้ซื้อที่ดินไว้ให้ชาวนาเช่าทำนา บริเวณคลองซอยที่ ๕ แล้วได้สร้างกุฏิพระขึ้นเรียกกันว่า วัดกลางคลองห้า ต่อมาเมื่อขอวิสุงคามสีมาได้รับพระราชทานนามวัดจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า วัดหัตถสารเกษตร
วัดโกรกกราก
วัดโกรกกรากตั้งอยู่ริมแม่น้ำท่าจีน ตำบลโกรกกราก อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร เป็นที่ชุมนุมของชาวเรือประมงสันนิษฐานว่าเป็นวัดเก่ามีมาแต่โบราณ ไม่ปรากฎชื่อ สร้างเมื่อปี พุทธศักราช ๒๓๗๕ หลักฐานต่างๆเกี่ยวกับวัดได้สูญหายไปเมื่อครั้งเกิดไฟไหม้ใหญ่
วัดบางบัว
วัดบางบัวสร้างเมื่อประมาณพุทธศักราช ๒๓๘๐ โดยมีสี่พระยาเป็นผู้สร้างแต่ก่อนชาวบ้านเรียกวัดบางบัวว่า วัดลาดน้ำเค็ม ต่อมาจึงเปลี่ยนชื่อเป็นวัดบางบัวหมายถึงคลองบัวที่ผ่านหน้าวัด
แถลงข่าว วัดพระธรรมกาย ฟ้อง อบต.คลองสาม ปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ เหตุสั่งห้ามใช้อุโบสถ
กรณีทางวัดพระธรรมกาย ได้ทราบข่าวจากสื่อมวลชนว่า นายวิระศักดิ์ ฮาดดา นายกองค์การบริหารส่วนตำบลคลองสาม ได้ไปแจ้งความวัดพระธรรมกาย เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2559 ที่ผ่านมา
สัมโมทมานชาดก ชาดกว่าด้วยพินาศเพราะทะเลาะกัน
แม่น้ำสายเล็กๆ ซึ่งเป็นแดนกั้นระหว่างเมืองกบิลพัสด์ุและเมืองเทวทหะได้เหือดแห้งลง เป็นเหตุให้ผู้คนทั้งสองเมืองเกิดการทะเลาะวิวาทแย่งน้ำกัน จนเกิดเป็นศึกสงครามระหว่างเมืองทั้งสองเป็นเหตุให้พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเสด็จมาห้ามทัพทั้งสองฝ่ายเอาไว้
วัดโคนอน ตำนานพระธุดงค์วัดโคนอน
วัดโคนอน ถือว่าเป็นวัดกลางป่ากลางดงขาดการบูรณะจึงได้มีการบูรณะจัดรูปแบบให้เป็นระเบียบโดยใช้อุโบสถเป็นศูนย์กลางใครที่มาถึงวัดโคนอนแห่งนี้ จะสัมผัสได้ถึงต้นไม้ใหญ่นับร้อยแผ่กิ่งใบให้ความร่มรื่น
วัดป่างิ้ว
วัดป่างิ้ว ได้รวม วัดพญาเมือง ทางคลองด้านใต้และ วัดนางหยาด ทางคลองด้านเหนือเข้าด้วยกันเป็น วัดป่างิ้ว ตามชื่อท้องถิ่นบ้านงิ้วมีเนื้อที่ ๙๐ ไร่เศษ รูปแบบการก่อสร้างละม้ายไปตามความนิยมของท้องถิ่น ซึ่งเป็นชาวมอญเสียส่วนมาก