อาทิตตปริยายสูตร
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน ก็อะไรเล่าชื่อว่าสิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักษุเป็นของร้อน รูปทั้งหลายเป็นของร้อน วิญญาณอาศัยจักษุเป็นของร้อน สัมผัสอาศัยจักษุเป็นของร้อน ความเสวยอารมณ์เป็นสุขเป็นทุกข์ หรือมิใช่สุขมิใช่ทุกข์ ที่เกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัสเป็นปัจจัย แม้นั้นก็เป็นของร้อน
บทความธรรมะ เรื่อง จะโกรธเขาดีหรือไม่โกรธดี
ความโกรธ คือ อะไร หากเรารู้สึกโกรธใครขึ้นมา เราควรทำอย่างไร เราจะมีวิธีระงับความโกรธได้หรือไม่ เชิญอ่านบทความธรรมะเรื่องความโกรธได้ที่นี่ค่ะ...
การใส่บาตร ถ้าไม่ได้อธิษฐาน เพราะถือว่าใส่บาตรไม่ได้หวังผล จะได้บุญหรือไม่
เวลาใส่บาตรแล้วจะอธิษฐาน หรือไม่อธิษฐานก็ได้บุญอยู่แล้ว แต่ที่โบราณท่านสอนให้เราอธิษฐานกันนั้น เป็นการตั้งเจตนาแน่วแน่ลงไป คนที่ทำอย่างนี้เมื่อถึงคราวบุญสงผล จะได้ผลตรงตามที่เราปรารถนา
ทำไมจึงฉันมื้อเดียว
การฉันอาหารมื้อเดียว จะมีอาพาธน้อย ลำบากกายน้อย มีกำลัง และอยู่อย่างผาสุข
ภูมิของพระสกทาคามี
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมณะที่ ๒ เป็นไฉน ภิกษุในศาสนานี้เป็นสกิทาคามีเพราะสังโยชน์ ๓ สิ้นไป เพราะความที่ราคะ โทสะ และโมหะเบาบาง จะกลับมาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ก็จะทำที่สุดแห่งทุกข์ได้ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้คือสมณะที่ ๒ ในพระศาสนา
การแก้คำกล่าวหาแบบพุทธวิธี
ภิกษุใด ชนะหนามคือกาม ชนะการด่า การฆ่า และ การจองจำได้ ภิกษุนั้น เป็นผู้มั่นคงไม่หวั่นไหวดุจภูเขา ย่อมไม่หวั่นไหวในสุข และทุกข์
เวลาพักของใจ
เมื่อเราทำงานหนัก เราเหนื่อยก็ต้องพักผ่อนนอนหลับ แต่เมื่อใจเราล้า เราจะให้ใจเราได้พักด้วยวิธีใด
มงคลที่ ๒๙ เห็นสมณะ - อานิสงส์การเห็นสมณะ
เมื่อลูกสาวเห็นว่า คุณพ่อมีศรัทธาเลื่อมใสในพระรัตนตรัย เธอจึงแนะนำให้พ่อแม่นิมนต์พระพุทธเจ้า พร้อมด้วยหมู่ภิกษุสงฆ์มาฉันภัตตาหารที่บ้าน คุณพ่อก็ทำตามแล้วได้ขอถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์เป็นสรณะ จากนั้นเธอก็ขออนุญาตออกบวช เนื่องจากสั่งสมบุญไว้มาก บวชได้ไม่นานนัก ได้บรรลุอรหัตตผลพร้อมด้วยปฏิสัมภิทาญาณ๔ เป็นพระอรหันตเถรี ผู้มีฤทธิ์มีเดชมีอานุภาพมาก
กิเลส 3 ตระกูล
กิเลสที่มีอยู่ในใจของมนุษย์ มีอยู่ 3 ตระกูลใหญ่ กิเลสตระกูลที่ 3 เรียกว่า โมหะ เป็นโรคร้ายฝังอยู่ในใจที่คอยบีบคั้นให้มนุษย์คิดชั่ว พูดชั่ว ทำชั่ว แล้วผลของความชั่วทำไว้ก็ไม่หายไปไหน มันได้กลายเป็นมารร้ายย้อนกลับมา ตามจองล้างจองผลาญเราข้ามภพข้ามชาติ
ความวิเศษสุดของพระพุทธศาสนา
ภิกษุผู้ตั้งอยู่ในศีล สำรวมในอินทรีย์ทั้งหลาย รู้จักประมาณในโภชนะ หมั่นประกอบความเพียร ภิกษุผู้มีปกติพากเพียรอยู่อย่างนี้ ไม่เห็นแก่นอน ไม่เกียจคร้านทั้งกลางวันและกลางคืน เจริญกุศลธรรมเพื่อบรรลุคุณอันเกษมจากโยคะ ผู้ยินดีในความไม่ประมาท มีปกติเห็นภัยในความประมาท เป็นผู้ไม่ควรเพื่อความเสื่อม ย่อมเป็นผู้ปฏิบัติใกล้พระนิพพานทีเดียว