ทางสายกลางเส้นทางตรัสรู้ของพระพุทธองค์
วันเพ็ญ ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ นับเป็นวันสำคัญที่มหาบุรุษ เจ้าชายสิทธัตถะบำเพ็ญเพียรทางจิต ณ ควงไม้ศรีมหาโพธิ์ จนกระทั่งตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าด้วยการดำเนินจิตตามทางสายกลางหรือมัชฌิมาปฏิปทา
มงคลที่ ๑๙ งดเ้ว้นจากบาป - ผู้ก่อบาปกรรม ย่อมแพ้สงครามแห่งชีวิต
นายจุนทะ ผู้เลี้ยงชีพด้วยการขายเนื้อสุกร เขามีชีวิตอยู่กับการฆ่าสุกรมาตลอด ๕๕ ปี ทุกวันหลังจากที่ฆ่าสุกรแล้ว เขาจะแบ่งเนื้อไว้กินกันเองในครอบครัว และนำเนื้อส่วนที่เหลือไปขายเลี้ยงชีพ ตลอดชีวิตที่ผ่านมา เขาไม่เคยประกอบกุศลกรรมใดๆ ไม่ว่าจะเป็นการทำทาน รักษาศีล หรือเจริญภาวนา แม้พระบรมศาสดาจะประทับอยู่ในวัดเวฬุวัน ซึ่งอยู่ใกล้ๆ บ้าน เขาก็ไม่เคยไปวัด ไม่เคยถวายอาหารแม้เพียงข้าวทัพพีเดียว มีแต่ทำบาปกรรมมาตลอด
ตาย เงื่อนไขที่ปรากฏอารมณ์ 3 ก่อนตาย
ความตายเป็นอย่างไร ตายแล้วไปไหน ชีวิตหลังความตายเป็นอย่างไร อารมณ์ก่อนตายเกิดขึ้นจากอะไร เกิดขึ้นได้อย่างไร
กระแสตัณหา
สัตว์ผู้กำหนัดแล้วด้วยราคะ ย่อมตกไปสู่กระแสตัณหา เหมือนแมงมุม ตกไปยังใยที่ตัวทำไว้เองฉะนั้น
มิจฉาสมาธิ
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - ผู้ไม่ประมาทย่อมถึงบรมสุข
สิ่งทั้งหลายทั้งปวงในโลกนี้ ไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์ หรือสิ่งของก็ตาม ล้วนมีความไม่เที่ยง แปรปรวนอยู่ตลอดเวลา เปลี่ยนแปลงไปสู่ความเสื่อมโทรมทุกอนุวินาที และในที่สุดต้องแตกดับสลายไป มนุษย์ทุกคนเกิดมาแล้วก็ต้องตาย แม้แต่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้เป็นเลิศกว่าใครในภพสาม ยังต้องทิ้งพระวรกายของพระองค์ไว้ในโลก และดับขันธปรินิพพาน
เทพบุตรมาร (๓)
ชนเหล่าใดจักสำรวมจิตนี้ ซึ่งไปได้ไกล เที่ยวไปโดดเดี่ยว ไม่มีรูปร่าง มีถ้ำเป็นที่อยู่อาศัย ชนเหล่านั้น จักพ้นจากบ่วงแห่งมารได้
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - จุดมุ่งหมายสูงสุดของชีวิต
ด้วยจิตที่จะอนุเคราะห์พระราชา พระปัจเจกพุทธเจ้าจึงถวายพระพรว่า "ธรรมดานักโทษย่อมไม่ยินดีในเรือนจำ มีแต่ดิ้นรนแสวงหาหนทางออกจากเรือนจำนั้นอย่างเดียว ขอพระองค์จงเป็นเช่นนั้นเถิด จงเห็นภพทั้งหมดเหมือนเรือนจำเถิด โลกนี้ถูกความมืด คือ อวิชชา ห่อหุ้มไว้ ตราบใดที่สัตวโลกยังไม่ได้รับแสงสว่างจากพระสัทธรรม เปรียบเสมือนตกอยู่ในคุกมืด..."
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - ตบะธรรมชนะกิเลส
ท้าวสักกะทรงดำริว่า “ดาบสนี้มีอานุภาพมากจะทำให้เราเคลื่อนจากความเป็นท้าวสักกะ เราจะต้องร่วมมือกับพระเจ้าพาราณสี ทำลายตบะของดาบสนั้นให้ได้” ครั้นเวลาเที่ยงคืน จึงเสด็จไปยังห้องบรรทมของพระเจ้าพาราณสี แสดงอานุภาพของท้าวสักกะ พลางตรัสกับพระราชาว่า
สำรวมจิตเพื่อชีวิตที่สมบูรณ์
ผู้มีปัญญา พึงรักษาจิตที่เห็นได้ยาก ที่ละเอียดอ่อน มักตกไปในอารมณ์ที่น่าใคร่ เพราะว่าจิตที่คุ้มครองดีแล้ว นำสุขมาให้