จีนเตรียมสร้างเจดีย์สันติสุข
ติวเข้ม"ครูสอนปริยัติธรรม" เสริมเทคนิคการสอนสมัยใหม่
มงคลที่ ๑๗ สงเคราะห์ญาติ - อย่าทอดทิ้งกัน
คนใกล้ชิดของท่านเศรษฐีมักปรารภให้ฟังว่า อย่าเลี้ยงนายกาฬกรรณีไว้เลย เพราะชื่อของเขาไม่เป็นมงคล และยังเป็นคนยากไร้ ไม่มีศักดิ์ศรีเสมอท่านเศรษฐี จะเลี้ยงคนๆ นี้ไว้ทำไม ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีก็ไม่ได้สนใจ กลับตอบว่า บัณฑิต ย่อมไม่ถือมงคลจากชื่อเสียงเรียงนาม เพียงแค่ชื่อที่ไม่เป็นมงคล ถึงกับจะให้ทอดทิ้งเพื่อนที่คบกันมาตั้งแต่เด็กนั้น เราทำไม่ได้ เป็นสิ่งที่ไม่สมควรอย่างยิ่ง
มงคลที่ ๓๖ จิตไม่โศก - เผชิญหน้าพญามัจจุราช
พระเถระได้อนุโมทนาในกุศลจิตของพระกุมาร แต่เมื่อตรวจดูอายุสังขารของพระกุมารแล้ว ได้บอกว่า พระกุมารจะมีชีวิตอยู่เพียง ๕เดือนเท่านั้น แม้ได้ทราบความนั้น พระราชกุมารก็ไม่ท้อใจ เพราะเข้าใจดีว่า คงเป็นกรรมในอดีตตามมาส่งผล ก็ไม่ได้หวาดหวั่นพรั่นพรึงอะไร จึงถามพระเถระถึงวิธีการที่จะหลุดพ้นจากความตาย
เวสสันดรชาดก ตอนที่ ๔ ( พระราชทานช้างมงคล )
เมื่อพราหมณ์ขอช้างได้แล้ว ก็พากันแห่ไปในใจกลางเมือง ครั้นมหาชนเห็นช้างมงคล ต่างถามว่า ท่านได้ช้างนี้มาจากไหน ทันทีที่รู้ว่าได้รับบริจาคมาจากพระเวสสันดร ต่างพากันวิพากษ์วิจารณ์ และโกรธพระโพธิสัตว์มาก ได้รวมตัวกันตั้งแต่คนที่มีชื่อเสียง พระราชบุตรจากทุกตระกูล พ่อค้า ชาวนา พราหมณ์ พากันมาชุมนุมร้องเรียนพระเจ้าสัญชัยว่า
มงคลที่ ๓ บูชาบุคคลที่ควรบูชา - โอกาสดีที่พบเนื้อนาบุญ
เมื่อตกลงใจอย่างนี้ ท่านรีบจัดทำพัดทันที อยากให้สังเกตตรงนี้ให้ดีว่า สำหรับนักสร้างบารมีนั้น เมื่อตัดสินใจจะสร้างบุญใหญ่ ท่านเหล่านั้นจะคิดแสวงหาบุญเอาเอง และตั้งใจทำสิ่งที่ดีที่สุด เพื่อบูชาบุคคลผู้เลิศที่สุด เหมือนกุลบุตรท่านนี้ ได้สร้างพัดขึ้น แต่วัสดุที่ใช้ ไม่ใช่วัสดุธรรมดา เอาของที่มีค่าที่สุดในสมัยนั้นมาทำ ได้แก่ ทอง เงิน แก้วมุกดา และแก้วมณี
วัดพระธรรมกาย จัดพิธีบุพเปตพลี
วัดพระธรรมกาย จังหวัดปทุมธานี ได้จัดพิธีบุพเปตพลี ครั้งที่ 142 เพื่ออุทิศบุญแด่หมู่ญาติที่ล่วงลับไปแล้ว และสืบทอดอายุพระพุทธศาสนาอีกด้วย
ธุดงคสถานอุดรธานี จัดพิธีบุพเปตพลี ครั้งที่ 54
ธุดงคสถานอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี ได้จัดพิธีบุพเปตพลี เพื่ออุทิศส่วนกุศลแด่หมู่ญาติที่ล่วงลับไปแล้ว ครั้งที่ 54
บ.เบียร์-เหล้าแหกคอกโฆษณา 6เดือนผิดก.ม.เหล้าปรับ11.5ล.
ประวัติการทอดผ้าป่า
“หมอชีวกโกมารภัจจ์” แพทย์ประจำพระองค์ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เล็งเห็นความยากลำบากของพระภิกษุที่ต้องไปแสวงหาผ้าที่พวกชาวบ้านทิ้งไว้ตามกองขยะหรือนำเอาผ้าทีห่อศพมาทำความสะอาด