แม่บทแห่งธรรม ธัมมจักกัปปวัตนสูตร
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร หรือที่เขียนตามพจนานุกรมว่า ธัมมจักกัปปวัตนสูตร มีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะเป็นพระสูตรที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประกาศพระสัมมาสัมโพธิญาณและเป็นพระสูตรที่เป็นแหล่งรวมของหลักธรรมสำคัญ ๆ ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงเป็นครั้งแรกแก่ปัญจวัคคีย์ พระสูตรนี้จึงได้สมญาว่า “ปฐมเทศนา”...
ร่วมเป็นเจ้าภาพ กองทุนละครสั้นการกุศลฟื้นฟูศีลธรรมโลก
กองทุนละครสั้นการกุศลฟื้นฟูศีลธรรมโลก ขอเชิญผู้ใจบุญทุกท่าน ร่วมเป็นบุคคลสำคัญในการผลิตละครฟื้นฟูศีลธรรมโลก เรื่อง “บังเกิดเกล้า” เพื่อมอบให้กับโรงเรียนในโครงการฟื้นฟูศีลธรรมโลก
ทีวี 6 ช่อง ขานรับพร้อมปรับปรุงการจัดระดับสื่อทีวี
ทำถูกหลักวิชชา นำพาสู่สวรรค์
“ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัปปุริสทานมี ๘ ประการ คือ ให้ของสะอาด ให้ของประณีต ให้ตามกาล ให้ของสมควร เลือกให้ ให้เนืองนิตย์ ให้ด้วยจิตที่ผ่องใส และให้แล้วก็ดีใจ”
สัมมนาพิเศษแนวทางการสร้างสันติภาพโลกที่ยั่งยืน
วัดพระธรรมกายได้จัดสัมมนาพิเศษ เรื่อง “แนวทางการสร้างสันติภาพโลกที่ยั่งยืน” เนื่องในเทศกาลมาฆบูชา และครบรอบ 50 ปี วัดพระธรรมกาย
ประกาศการเลื่อนวันสอบธรรมสนามหลวง สมัยที่ 2 ประจำปี 2554
ประกาศสำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง เรื่อง การเลื่อนวันสอบธรรมสนามหลวง สมัยที่ ๒ ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๔
กฎหมายห้ามดื่มเหล้าบนรถมีโทษทั้งจำทั้งปรับ
กระทรวงสาธารณสุขเผยถึงความคืบหน้าการใช้ร่างประกาศตามพรบ. ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 เรื่อง การห้ามดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในทางสาธารณะขณะขับขี่หรือขณะโดยสาร มีผลบังคับใช้แล้วตั้งแต่วันที่ 8 สิงหาคม ที่ผ่านมา
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - จุดมุ่งหมายสูงสุดของชีวิต
ด้วยจิตที่จะอนุเคราะห์พระราชา พระปัจเจกพุทธเจ้าจึงถวายพระพรว่า "ธรรมดานักโทษย่อมไม่ยินดีในเรือนจำ มีแต่ดิ้นรนแสวงหาหนทางออกจากเรือนจำนั้นอย่างเดียว ขอพระองค์จงเป็นเช่นนั้นเถิด จงเห็นภพทั้งหมดเหมือนเรือนจำเถิด โลกนี้ถูกความมืด คือ อวิชชา ห่อหุ้มไว้ ตราบใดที่สัตวโลกยังไม่ได้รับแสงสว่างจากพระสัทธรรม เปรียบเสมือนตกอยู่ในคุกมืด..."
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - ตบะธรรมชนะกิเลส
ท้าวสักกะทรงดำริว่า “ดาบสนี้มีอานุภาพมากจะทำให้เราเคลื่อนจากความเป็นท้าวสักกะ เราจะต้องร่วมมือกับพระเจ้าพาราณสี ทำลายตบะของดาบสนั้นให้ได้” ครั้นเวลาเที่ยงคืน จึงเสด็จไปยังห้องบรรทมของพระเจ้าพาราณสี แสดงอานุภาพของท้าวสักกะ พลางตรัสกับพระราชาว่า
สำรวมจิตเพื่อชีวิตที่สมบูรณ์
ผู้มีปัญญา พึงรักษาจิตที่เห็นได้ยาก ที่ละเอียดอ่อน มักตกไปในอารมณ์ที่น่าใคร่ เพราะว่าจิตที่คุ้มครองดีแล้ว นำสุขมาให้