ทศชาติชาดก เรื่อง พระเตมีย์ ผู้ยิ่งด้วยเนกขัมมบารมี ตอนที่ 17
ข้าแต่พระราชกุมาร พระวาจาของพระองค์ช่างไพเราะเสียจริง พระองค์มีพระดำรัสตรัสสละสลวยถึงเพียงนี้ แต่เหตุไฉน ก่อนนี้พระองค์ถึงไม่ทรงตรัสสิ่งใดกับพระชนกและพระชนนีเลย ขอพระองค์จงเสด็จกลับพระนครเถิด การอยู่ในป่าคนเดียวจะมีประโยชน์อะไร
มุทิตาจิต กับ อนุโมทนา ต่างกันอย่างไร
บทความนี้อธิบายความแตกต่างระหว่างมุทิตาจิตและอนุโมทนา ทั้งในด้านความหมาย การแสดงออก และอานิสงส์ของการมุทิตาและอนุโมทนา การมีจิตยินดีในความดีของผู้อื่นเป็นคุณธรรมที่ควรส่งเสริมในสังคม
ไม่น่าเป็นไปได้ แต่ก็เป็นไปแล้ว
ต่อมา...เขาได้กลับไปทำงานที่ต่างประเทศและไม่เคย ติดต่อกลับมาอีกเลย ลูกรู้สึกน้อยใจและคิดจะทำแท้ง ลูกกลุ้มใจมากเพราะวิชารักที่เขาสอน...ลูกทำคะแนนได้ดีมาก
ทศชาติชาดก เรื่อง พระเตมีย์ ผู้ยิ่งด้วยเนกขัมมบารมี ตอนที่ 15
ดูก่อนสารถี เราไม่ใช่เทวดา ไม่ใช่คนธรรพ์ ไม่ใช่ท้าวสักกะผู้ให้ทานในกาลก่อน เราเป็นโอรสของพระเจ้ากาสิกราชผู้ที่ท่านกำลังจะฆ่าเสียในหลุมนั่นแหละ เราเป็นโอรสของพระราชาผู้ที่ท่านอาศัยร่มพระบารมีเลี้ยงชีวีตอยู่ ดูก่อนสารถี ถ้าท่านฆ่าเราเสียในป่า ท่านก็ทำสิ่งที่ไม่เป็นธรรม
ทศชาติชาดก เรื่อง พระเตมีย์ ผู้ยิ่งด้วยเนกขัมมบารมี ตอนที่ 16
จึงกลับมาแลดูพระองค์ก็จำได้ ว่า ใช่พระเตมิยราชกุมารแน่แล้ว จึงหมอบลงแทบพระบาทของพระโพธิสัตว์ ประคองอัญชลีทูลวิงวอนว่า “ข้าแต่พระราชโอรส ขอพระองค์จงเสด็จกลับพระนครเถิด ข้าพระบาทจะนำพระองค์กลับสู่ราชมณเฑียร ขอพระองค์จงครองราชย์สมบัติ ขอจงทรงพระเจริญ พระองค์จะอยู่ทำอะไรในป่านี้เล่า
คาถาหัวใจเศรษฐี-หลวงพ่อตอบปัญหา
คนที่ท่องหัวใจเศรษฐีคือ “อุ อา กะ สะ” เพราะเชื่อว่าจะทำให้รวยได้ คาถานี้จะช่วยคนเราเป็นเศรษฐีได้จริงหรือไม่,ถ้าเราอยากเป็นเศรษฐีข้ามภพข้ามชาติ จะต้องปฏิบัติตามหลักธรรมข้อใดบ้าง,มีหลักธรรมข้อใดบ้าง ที่จะทำให้ครอบครัวและวงศ์ตระกูลตั้งอยู่ได้อย่างมั่นคง
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๘)
จากฉบับที่แล้ว ผู้เขียนได้พาท่านผู้อ่านย้อนรำลึกถึงประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาที่สำคัญที่สุดช่วงหนึ่งของประเทศไทย นั่นก็คือพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ในยุคต้นรัตนโกสินทร์ คือ รัชกาลที่ ๑ ที่...
ประเพณีสร้างองค์พระของชาวพุทธ
พระพุทธศาสนา เป็นศาสนาเพื่อสันติภาพโลก ชาวไทยเป็นชาติที่มีพื้นฐานของสันติภาพอยู่ภายในใจตลอดเวลา ชาวไทยรู้จักสันติภาพตั้งแต่เช้าของวันรุ่งขึ้น
พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาล ที่ 10 "ขอพระองค์ทรงพระเจริญ”
ชาวพุทธในยุคปัจจุบันของบังคลาเทศ
ความมั่นคงของพระพุทธศาสนาจะต้องประกอบด้วยปัจจัยที่สำคัญคือ ชาวพุทธต้องเป็นชาวพุทธที่แท้จริง มีความรู้ความเข้าใจในคำสอนของพระพุทธศาสนาอย่างถูกต้อง โดยต้องศึกษาทั้งปริยัติ และปฏิบัติ เพื่อให้เกิดปฏิเวธ และปัจจัยที่สำคัญยิ่งอีกประการหนึ่งก็คือ ชาวพุทธจะต้องมีความสามัคคีกัน เว้นจากการให้ร้ายกัน พระพุทธศาสนาจึงจะมั่นคงอยู่ได้อย่างแท้จริง