ปชาบดีเถรี ผู้รัตตัญญู (๒)
ความชั่วทางกาย วาจา และใจของบุคคลใดไม่มี เราเรียกบุคคลนั้น ผู้สำรวมแล้วโดยฐานะ ๓ ว่า เป็นพราหมณ์
ปชาบดีเถรี ผู้รัตตัญญู (๑)
ในที่ใด ไม่มีความแก่หรือความตาย ไม่มีการสมาคมด้วยสัตว์และสังขารอันไม่เป็นที่รัก ไม่มีการพลัดพรากจากสัตว์และสังขารอันเป็นที่รัก ที่นั้นนักปราชญ์กล่าวว่าเป็นอสังขตสถาน
พุทธชิโนรส (๔)
พระตถาคตผู้มีพระปัญญาเฉลียวฉลาด ทรงสมบูรณ์ด้วยศีล ทรงรักษาเราเหมือนนกต้อยตีวิด พึงรักษาไข่ เหมือนเนื้อจามรีรักษาขนหางสูงสุดฉะนั้น
พุทธชิโนรส (๓)
มารดาบิดาหรือว่าหมู่ญาติทั้งหลาย ไม่พึงทำเหตุนั้นให้ได้ แต่จิตที่บุคคลตั้งไว้ชอบ พึงทำบุคคลนั้นให้ประเสริฐกว่าเหตุนั้น
พระภัททิยะเถระ
ผู้ใดตัดความข้องทั้งปวงแล้ว บรรเทาความกระวนกระวายใจได้ ผู้นั้นถึงความสงบใจ เป็นผู้สงบระงับ ย่อมอยู่อย่างมีความสุข
พระพุทธรูปปางต่างๆ
พระพุทธรูปปางต่างๆ พระพุทธรูปปางอธิษฐานเพศบรรพชิต พระพุทธรูปปางรับมธุปายาส พระพุทธรูปปางรับหญ้าคา พระพุทธรูปปางมารวิชัย พระพุทธรูปปางสมาธิหรือปางตรัสรู้ ความเป็นมาของปางต่างๆ
วัดหัตถสารเกษตร
พระยาหัตถสารศุภกิจกับคุณนายจอนได้ซื้อที่ดินไว้ให้ชาวนาเช่าทำนา บริเวณคลองซอยที่ ๕ แล้วได้สร้างกุฏิพระขึ้นเรียกกันว่า วัดกลางคลองห้า ต่อมาเมื่อขอวิสุงคามสีมาได้รับพระราชทานนามวัดจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า วัดหัตถสารเกษตร
วันครูผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย
“วันครูผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย” “วันมหัศจรรย์ของโลก” วันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำเดือน 10 ของทุกปีเป็นวันที่เราจะนึกถึง พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หรือหลวงพ่อวัดปากน้ำ ท่านได้สละชีวิตในการนั่งสมาธิจนเข้าถึงธรรมกาย
ความหมายของกายในคำว่าธรรมกาย ตอนที่ 2
นอกจากธรรมกายของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและพระปัจเจกพุทธเจ้าแล้ว ในพระไตรปิฎกบาลียังกล่าวถึงธรรมกายของพระพุทธสาวกด้วยดังที่ปรากฏในมหาปชาบดีโคตมีเถรีอปทาน อันเป็นถ้อยคำที่พระมหาปชาบดีโคตมีเถรีกราบทูลลาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเพื่อเสด็จปรินิพพาน
ประวัติพระพุทธเจ้า ตอนที่ 3
ประวัติพระสัมมาสัมพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน รูปภาพพระพุทธเจ้า การประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน สรุปประวัติพระพุทธเจ้า ตอนที่ 3