ส่องธรรม ล้ำภาษิต : ไม่กลัวปรโลก
ธมฺเม ฐิโต ปรโลกํ น ภาเยติ ตั้งอยู่ในธรรมแล้ว ไม่ต้องกลัวปรโลก
ชอบทำผิดทั้งๆที่รู้
คำถาม : ทำไมคนส่วนใหญ่จึงชอบทำผิดทั้ง ๆ ที่รู้ว่าผิด
คิดผิดคิดใหม่ได้ (๒)
ดูก่อนสารีบุตร เราย่อมกำหนดรู้ใจของบุคคลบางคนในโลกนี้ว่า บุคคลนี้ปฏิบัติอย่างนั้น ดำเนินชีวิตอย่างนั้น และขึ้นสู่หนทางนั้นแล้ว เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก จักเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก โดยสมัยต่อมา เราย่อมเห็นบุคคลนั้นหลังจากตายไปแล้ว เข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก แล้วเสวยทุกขเวทนาอันแรงกล้าเผ็ดร้อนโดยส่วนเดียว ด้วยธรรมจักขุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์ทั้งหลาย
สมปรารถนาได้ด้วยบุญ
ชีวิตถูกชรานำเข้าไปใกล้ความตาย ผู้ที่ถูกชรานำเข้าไปใกล้แล้ว ย่อมต้านทานไว้ไม่ได้ เมื่อบุคคลเล็งเห็นภัยในความตายนี้ ควรทำบุญอันจะนำความสุขมาให้
ทุกข์อย่างยิ่ง สุขอย่างยิ่ง
ความหิวเป็นโรคอย่างยิ่ง, สังขารทั้งหลาย เป็นทุกข์อย่างยิ่ง, บัณฑิตทราบเนื้อความนั่น ตามความจริงแล้ว
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๒ )
บุคคลให้ทานไม่ได้เพราะเหตุผล ๒ ประการ คือ ความ ตระหนี่ และความประมาท บัณฑิตผู้รู้แจ้ง เมื่อต้องการบุญพึงให้ทาน คนตระหนี่กลัวความอดอยากยากจน เพราะความกลัวจนนั่นแหละ จะเป็นภัยแก่ผู้ไม่ให้ และจะกลับมามีผลต่อคนพาลผู้หลงผิด ฉะนั้น บัณฑิตพึงครอบงำมลทิน กำจัดความตระหนี่แล้วรีบให้ทาน เพราะบุญเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลาย ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า
ทุกข์และสุข อันมากจากกาม
กามเป็นสิ่งที่ละได้ยากก็จริง แต่ก็ป้องกันพิษภัยของมันได้ เหมือนโรคบางอย่างรักษาได้ยากก็จริง แต่ก็ป้องกันมิให้มันเกิดขึ้นได้
อานิสงส์ถวายน้ำอ้อย
ควรทำวันและคืนไม่ให้เปล่าประโยชน์ จะน้อยหรือมากก็ตาม เพราะวันคืนผ่านบุคคลใดไปแล้ว ชีวิตของบุคคลนั้นย่อมพร่องจากประโยชน์นั้น
ทำไมจึงรวย ?
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสกับสุภมาณพ โตเทยยบุตรว่า ดูก่อนมาณพ สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย กรรมย่อมจำแนกสัตว์ให้เลวและประณีตได้.
มีอะไรก็เฉย ไม่ลุ้น ไม่ตกใจ
ครั้งแรกๆเมื่อมีอาการแบบนี้ ลูกจะลืมตาทันที ถ้าเมื่อใดที่เกิดขึ้นแบบแรงมากๆ ลูกก็จะนึกถึงมหาปูชนียาจารย์ เพราะลูกรู้สึกว่ามันน่ากลัวมากๆค่ะ แต่ครั้งนี้ลูกได้ชนะสิ่งนี้แล้ว เพียงแค่ลูกหยุด นิ่ง เฉย อย่างเบา สบาย โดยไม่นึกถึงอะไรทั้งสิ้น มีอะไรก็เฉย ไม่ลุ้น ไม่ตกใจ...