มหาโควินทสูตร (ตอนที่ 1 เทวสันนิบาต)
ความพร้อมเพรียงของหมู่เป็นเหตุแห่งสุข และการสนับสนุนผู้พร้อมเพรียงกัน ก็เป็นเหตุแห่งสุข ภิกษุผู้ยินดีในความพร้อมเพรียงกัน ตั้งอยู่ในธรรม ย่อมไม่เสื่อมจากธรรมอันเกษมจากโยคะ ภิกษุสมานสงฆ์ให้พร้อมเพรียงกันแล้ว ย่อมบันเทิงในสรวงสวรรค์ตลอดกัป
มหาโควินทสูตร (ตอนที่ 2 พุทธคุณ ๘ ประการ)
บุคคลจะเป็นอุบาสกหรืออุบาสิกาก็ตาม ผู้ถึงพระรัตนตรัยอันประกอบด้วยคุณอันอุดมอย่างนี้ ชื่อว่าจะเป็นผู้บังเกิดในนรกเป็นต้น ย่อมไม่มี อนึ่งพ้นจากการบังเกิดในอบายแล้ว ยังจะเกิดขึ้นในเทวโลกได้เสวยมหาสมบัติ
มหาโควินทสูตร (ตอนที่ 3 สนังกุมารพรหม)
ชาวโลกนี้ เป็นผู้มืดบอด มีน้อยคนที่เห็นแจ้งในโลกนี้ น้อยคนเหลือเกินที่จะไปสู่สุคติโลกสวรรค์ เหมือนนกน้อยตัวที่รอดพ้นจากตาข่ายมีน้อยเหลือเกินฉะนั้น
คนธรรพ์ชวนบวช
บุญจากการบวชมีอานิสงส์มาก ผู้ที่รู้ซึ้งถึงผลแห่งบุญ ไม่ว่าจะอยู่ในสถานะใด ก็ล้วนอยากอยากมีส่วนในบุญนี้
ตายแล้วไปดาวดึงส์ด้วยบุญพระลูกชาย
เรื่องราวของชีวิตหลังความตาย บุญที่ลูกชายได้บวชสร้างบารมีอย่างเต็มที่เต็มกำลัง ช่วยให้บิดาที่ตายไปแล้วไปอยู่ภพภูมิที่สูงขึ้นได้อย่างไร...บุพกรรมใด ทำให้เป็นผู้ที่มีอายุขัยยืนยาว...แม้ทำไปเพราะหวังดี แต่กลับมีผลร้ายในชาติปัจจุบัน...พบกับเรื่องราวหลากหลายของชีวิตหลังความตาย ในแบบของโรงเรียนอนุบาลฝันในฝันวิทยา
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๓ (สนังกุมารพรหม)
ชาวโลกนี้ เป็นผู้มืดบอด มีน้อยคนที่เห็นแจ้งในโลกนี้ น้อยคนที่จะไปสู่สุคติโลกสวรรค์ เหมือนนกน้อยตัวที่รอดพ้นจากตาข่ายมีน้อยฉันนั้น
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๙)
ปัจจุบัน คนส่วนใหญ่มักให้ความสำคัญกับการสั่งสมบุญน้อยกว่าการสั่งสมทรัพย์ เพราะเราอยู่ในยุคสมัยของโลกาภิวัฒน์ที่มนุษย์วิ่งตามกระแสวัตถุ
กุสนาฬิชาดก-ชาดกว่าด้วยประโยชน์ของการคบมิตร
ณ บ้านมหาเศรษฐี นามอนาถบิณฑิกะ ได้เกิดเรื่องวุ่นวายขึ้น เมื่ออนาถบิณฑิกะเศรษฐีได้คบหากับมิตรผู้ที่ฐานะต่ำต้อยกว่า และได้แต่งตั้งให้บุรุษผู้นั้นเป็นผู้ดูแลสมบัติทั้งหมดของตน เหล่าบรรดาญาติพวกพ้องของท่านอนาถบิณฑิกะต่างแสดงความไม่พอใจ และขอให้ท่านเศรษฐีเลิกคบหากับมิตรผู้นั้น
มหาสมัยสูตรครั้งที่ 2 (ตอนรายนามเหล่าเทวา)
สติของชนเหล่าใด แล่นไปแล้วในพระพุทธเจ้าเป็นนิตย์ ทั้งกลางวัน และกลางคืน ชนเหล่านั้น เป็นสาวกของพระโคดม ตื่นอยู่ด้วยดีในกาลทุกเมื่อ
มหาสมัยสูตรครั้งที่ 3 (ตอนภพมารสะดุ้ง)
เราจะบอกมลทินอันยิ่งกว่ามลทินนั้น อวิชชาเป็นมลทินอย่างยิ่ง ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลาย เมื่อละมลทินนั้นได้แล้ว ย่อมเป็นผู้หมดจด