ไปสวรรค์เพราะถือศีลแปด
เพราะตั้งใจถือศ๊ลแปด แม้ในช่วงท้ายของชีวิต เมื่อละโลกแล้วจึงมีสุคติเป็นที่ไป
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 36 อชิตพราหมณ์บรมโพธิสัตว์ออกบวช
การบังเกิดขึ้นของพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น ยากมาก เพราะต้องผ่านการสร้างบารมีมาอย่างน้อย 20 อสงไขยกับหนึ่งแสนมหากัป
เกาะชายผ้าเหลืองพระลูกชายไปสวรรค์
ด้วยบุญที่ถวายลูกชายสุดที่รักไว้ในพระพุทธศาสนา เมื่อคราวละโลก ภาพบุญนี้จึงมาปรากฏ นำให้ไปเกิดบนสรวงสวรรค์
ทำไมบนสวรรค์จึงมีทั้งเทวดาและมาร
เทวดายังมีชั้น จึงไม่แปลกที่มนุษย์มีการแบ่งชนชั้นวรรณะ ต้องไปแก้ที่เทวดาก่อน ถ้าแก้เทวดาไม่ตก มนุษย์ก็ยังมีชนชั้น ที่เทวดามีชั้นเพราะมีความละอายและเกรงกลัวต่อบาปไม่เท่ากัน
ผู้ที่อิจฉาริษยาผู้อื่นมักจะได้เกิดในตระกูลต่ำจริงหรือ
คนที่มีนิสัยขี้อิจฉา แสดงว่าบุญน้อยแล้วยังไม่สำนึก ไม่มีอำนาจวาสนาแล้วยังไม่พอ เกิดกี่ชาติๆ ก็ไม่มีทางเจริญรุ่งเรืองได้ ความอิจฉาริษยานี้ จะตัดทอนกำลังที่จะนำไปสร้างบุญต่อได้มาก
อานิสงส์อนุโมทนาบุญ
ข้าแต่พระคุณเจ้าผู้เจริญ มหาอุบาสิกาวิสาขา สหายของดิฉันอยู่ในกรุงสาวัตถี ได้สร้างมหาวิหารถวายสงฆ์ ดิฉันเห็นมหาวิหารและการบริจาคทรัพย์อุทิศสงฆ์ ได้บังเกิดความเลื่อมใสในบุญนั้น จึงอนุโมทนาบุญด้วยใจที่เปี่ยมด้วยศรัทธาและมหาปีติ ดิฉันได้วิมานที่อัศจรรย์น่าทัศนา ก็เพราะการอนุโมทนาบุญอันบริสุทธิ์ในครั้งนั้น
Dhamma For People :- The merit-rejoicing fruit
An angel owned a lot of celestial properties because she had rejoiced in her friend's merit. What kind of merit did she rejoice?
สะเก็ดข่าวสั้นทันปรโลก โยมพ่อ.....เพิ่มหรรษา
โยมพ่อละโลกแล้วไปอยู่ที่ไหน ตอนนี้เป็นอย่างไร บุพกรรมใดที่ทำให้ท่านต้องมาประสบอุบัติเหตุรถตกเขาเสียชีวิตด้วยครับ
อานิสงส์บูชาด้วยดอกบัว
ผู้ที่เกิดมาแล้วจำต้องตายในโลกนี้ ย่อมทำกรรมอันใดไว้ คือเป็นบุญ และเป็นบาปทั้งสองประการ บุญและบาปนั้นแล เป็นสมบัติของเขา และเขาจะพาเอาบุญและบาปนั้นไปสู่ปรโลก อนึ่ง บุญและบาปนั้น ย่อมเป็นของติดตามเขาไปประดุจเงาติดตามตัวไป ฉะนั้น เพราะฉะนั้น บุคคลพึงทำกัลยาณกรรม สะสมไว้เป็นสมบัติในปรโลก เพราะว่าบุญทั้งหลาย ย่อมเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลายในปรโลก
อานิสงส์บูชาด้วยดอกมะลิ
บุคคลใดมีศรัทธาตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวในพระตถาคต มีศีลอันงามที่พระอริยเจ้าพอใจสรรเสริญ มีความเลื่อมใสในพระสงฆ์ และมีความเห็นตรง บัณฑิตทั้งหลายเรียกชีวิตของบุคคลนั้นว่า ไม่ว่างเปล่าจากแก่นสาร