อานิสงส์ของการไม่นอกใจสามี
สมัยที่ดิฉันได้เกิดเป็นมนุษย์นั้น ดิฉันเป็นผู้มีความซื่อตรง มีวาจาสัตย์ ไม่คิดนอกใจสามี ได้ถนอมนํ้าใจสามีเหมือนมารดาถนอมบุตรผู้เป็นที่รัก แม้บางครั้งดิฉันจะรู้สึกไม่พอใจ ดิฉันก็จะไม่ลุแก่อำนาจอารมณ์ จะไม่กล่าวคำหยาบคาย ตั้งอยู่ในสัจจะอย่างเคร่งครัด... เพราะบุญนั้น ส่งผลให้ดิฉันมีวรรณะที่งดงามอย่างนี้ มหาสมบัติอันเป็นทิพย์ที่น่าใคร่ น่าปรารถนาจึงบังเกิดขึ้น
มหาสุบินของพระพุทธเจ้า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุที่นอนหลับ มีสติตั้งมั่น รู้สึกตัวอยู่ ย่อมหลับเป็นสุข ตื่นเป็นสุข ไม่ฝันร้าย หรือหากฝันก็ฝันแต่เรื่องที่เป็นสิริมงคล เทวดาจะลงปกปักรักษา
อีกนานไหมที่วิทยาศาสตร์จะก้าวตามทันพุทธศาสตร์ ?
พุทธศาสตร์ คือ เรื่องที่ว่าด้วยความจริงของโลกและชีวิตทั้งหมด ถามว่าเมื่อไรวิทยาศาสตร์จะทันพุทธศาสตร์ ก็ต้องบอกว่าเมื่อวิทยาศาสตร์สามารถรู้ทุกอย่างโดยไม่เหลือข้อคลางแคลงใด ๆ อีกเลย ซึ่งคงอีกนานมาก ๆ
เวมานิกเปรตผู้โดดเดี่ยว
เมื่อพระบรมศาสดาประทับอยู่ ณ เชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภอดีตหญิงโสเภณีคนหนึ่งที่ประพฤติผิดศีลแทบทุกข้อ แต่มีบุญที่ได้ทำทานกับพระอรหันต์ไว้บ้าง จึงทำให้ไปบังเกิดเป็นเวมานิกเปรต เปลือยกายอยู่โดดเดี่ยวท่ามกลางมหาสมุทร เรื่องของนางก็มีอยู่ว่า...
ความหมายของกายในคำว่าธรรมกาย ตอนที่ 2
นอกจากธรรมกายของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและพระปัจเจกพุทธเจ้าแล้ว ในพระไตรปิฎกบาลียังกล่าวถึงธรรมกายของพระพุทธสาวกด้วยดังที่ปรากฏในมหาปชาบดีโคตมีเถรีอปทาน อันเป็นถ้อยคำที่พระมหาปชาบดีโคตมีเถรีกราบทูลลาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเพื่อเสด็จปรินิพพาน
พระไตรปิฎกมรดก ๙ แผ่นดินแห่งกรุงรัตนโกสินทร์
นับตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ทรงสถาปนา “กรุงเทพมหานคร” เป็นเมืองหลวงของราชธานี จวบจนปัจจุบันนับเป็นเวลา ๒๐๐ กว่าปี ที่ปวงชนชาวไทยอยู่เย็นเป็นสุขภายใต้พระบรมโพธิสมภารของสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้าผู้ครองแผ่นดินทั้ง ๙ พระองค์...
ธัมมัสสวนมัย จิตผ่องใสได้ฟังธรรม
“ภิกษุทั้งหลาย เวลาที่ทรงคุณค่าที่บุคคลให้เป็นไปโดยชอบแล้วย่อมทำให้ถึงความสิ้นอาสวะโดยลำดับ เวลาที่ทรงคุณค่า 4 อย่าง คือเวลาฟังธรรมตามกาล เวลาสนทนาธรรมตามกาล เวลาทำความสงบของใจและเวลาพิจารณาธรรมให้เกิดความรู้แจ้ง” (ทุติยกาลสูตร)
เจ้าฟ้าหญิงจุฬาภรณ์ฯ ตรัส ในหลวง ทรงมีพระอาการดีขึ้นมาก รับสั่งอีก 2 เดือนจะเดินให้ดู
ใครไม่รักพระเจ้าอยู่หัวก็น่าแปลก เพราะพระองค์ท่าน และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงงานหนักมาตลอด 60 ปี ดูแลทุก ๆ เรื่อง
ปฐมเทศนาในวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เนื่องจากเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นเมื่อ ๔๕ ปี ก่อนพุทธศักราช ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๘ คือ วันเพ็ญเดือนอาสาฬหะ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี อันเป็นวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา คือ ธัมมจักกัปปวัตนสูตร แก่ปัญจวัคคีย์
“The life of Buddha” แอนิเมชั่นไทยตะลุยอินเตอร์ ปักธง “ธรรม” 360 องศา