ยิ่งสร้างองค์พระก็ยิ่งศรัทธา
อานุภาพแห่งบุญ...ผู้หญิงคนหนึ่ง จากที่ไม่เคยเรียนรู้เรื่องกฎแห่งกรรม แต่เมื่อรู้แล้วก็ได้สร้างบุญอย่างหมดใจในทุกๆบุญ สร้างองค์พระธรรมกายประจำตัวหลายองค์...ละโลกแล้วเธอไปไหน...ความอัศจรรย์ของพระของขวัญซึ่งจะอยู่กับเจ้าของบุญที่แท้จริงเท่านั้น...และอุทาหรณ์ของนักพนัน
เรื่องของคนชอบชนไก่ ตอนที่ 5
ในระหว่างที่ไก่ชนของทั้งสองฝ่ายกำลังจิกตีกันอยู่นั้น กลุ่มของโยมพ่อของลูกกับกลุ่มวัยรุ่นที่เป็นฝ่ายตรงข้าม ต่างก็เริ่มมองหน้าหาเรื่องกัน
เวสสันดรชาดก ตอนที่ ๓ ( กำเนิดพระเวสสันดร )
ครั้นพระโพธิสัตว์ออกมาจากครรภ์ของพระมารดา เพียงลืมพระเนตรทั้งสองได้เท่านั้น ก็เหยียดพระหัตถ์ออกมาพลางกล่าวกับพระมารดาว่า “ข้าแต่พระแม่เจ้า หม่อมฉันจะบริจาคทาน มีทรัพย์อะไรพอที่จะให้ลูกบริจาคได้บ้าง” พระชนนีตรัสตอบว่า “ลูกรัก ลูกจงบริจาคทานตามอัธยาศัยเถิด” จากนั้น
เรื่องของคนชอบชนไก่ ตอนที่ 4
บุพกรรมที่ทำให้โยมพ่อของลูกต้องมาป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งในเม็ดเลือด ในวัยเพียง 63 ปี ทั้งนี้ก็เพราะวิบากกรรมหลักๆ 2 วิบากกรรม
อย่าลองนะ
เด็กสาวคนหนึ่ง ตอนที่เรียนอยู่ ม.2 เธอป่วยเป็นโรคประหลาด เริ่มต้นจากมีอาการชัก ต่อมาก็มีอาการซึมเศร้า ขี้หงุดหงิด ไม่รู้ตัวว่าทำอะไรไปบ้าง กินข้าวแล้วก็บอกว่ายังไม่ได้กิน ควบคุมตัวเองไม่ได้ บางครั้งเหมือนไม่เป็นตัวของตัวเอง ต่อมาก็เริ่มเรียนไม่รู้เรื่อง จนต้องเข้าโรงพยาบาล หลังจากได้รับการตรวจเช็คสมองอย่างละเอียด ก็ไม่พบความผิดปกติ...อาการป่วยของเธอเกิดจากสาเหตุใดกันแน่...และกับคำถาม...การที่ขโมยมาขโมยเงินที่เตรียมไว้เพื่อถวายกฐิน เขาจะได้รับกรรมหนักกว่าการขโมยเงินทั่วๆไป อย่างไร หรือไม่...ที่นี่...มีคำตอบ
คําศัพท์ภาษาอังกฤษน่ารู้ ตอน ครอบครัว Ep.2
ติดตามเรื่อง Family or Relatives #2 แปลว่า ครอบครัว และเครือญาติ ตอนที่ 2 เรียนรู้ภาษาอังกฤษกับ Aj. Shon Pistoll
แข่งบุญแข่งบารมี
มีภาษิตกล่าวว่า “แข่งเรือแข่งพาย พอแข่งได้ แต่แข่งบุญแข่งบารมี แข่งกันไม่ได้” เป็นความหมาย ให้อ่อนน้อมถ่อมตน มิให้ตีตนเสมอผู้หลักผู้ใหญ่
ตะลึง"เคนยา"หนาวหิมะ-ลูกเห็บตก
ตำนานช้างในพระพุทธศาสนา
ในสมัยดึกดำบรรพ์นานมาแล้ว มีสระใหญ่อยู่แห่งหนึ่ง กว้างยาว 52 โยชน์ ลึกราว 12 โยชน์ สระแห่งนี้มีชื่อว่าฉัททันต์ ทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของสระนี้มีต้นไทรใหญ่อยู่ด้านหนึ่ง
ทำไมชาวโลกจึงเรียกเราว่าตถาคต
ตถาคตย่อมกล่าว ย่อมแสดงซึ่งสิ่งใดในระหว่างนี้ สิ่งนั้นทั้งหมดย่อมเป็นอย่างนั้นทีเดียว ย่อมไม่เป็นอย่างอื่น เพราะฉะนั้นชาวโลกจึงเรียกว่า ตถาคต