อานิสงส์บูชาพระเจดีย์ทุกวัน
การบูชามี ๒ อย่าง ได้แก่ อามิสบูชาและปฏิบัติบูชา อามิสบูชา คือ การบูชาด้วยวัตถุสิ่งของ มีดอกไม้ ธูปเทียน เครื่องหอมอาหารหวานคาว และน้ำ เป็นต้น
อานิสงส์การถือธุดงควัตร (ภาคพิเศษ )ตอนที่ 10
หลังจากที่เจ้าหญิงสุมนาซึ่งเป็นพระภคินีของพระราชโอรสได้เสด็จไปเข้าเฝ้าพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว พระนางก็ทรงทูลเล่าถึงเหตุการณ์อันน่าประหลาดใจเกี่ยวกับเด็กทารกทั้งสองคน หรือเด็กทารกที่เป็นพระราชโอรสกับเด็กทารกที่เป็นบุตรของนางสนมกำนัล
โทษของการห้ามสามีทำบุญ
วันและคืนย่อมล่วงไปๆ ชีวิตย่อมดับไป อายุของสัตว์ทั้งหลายย่อมสิ้นไป เหมือนน้ำในแม่น้ำน้อย ฉะนั้น เมื่อเป็นเช่นนั้น คนพาลทำบาปกรรมอยู่ ย่อมไม่รู้สึกตัว ภายหลังเขาย่อมได้รับทุกข์อันเผ็ดร้อน เพราะบาปกรรมนั้นมีวิบากเลวทราม
ทำไมชาวโลกจึงเรียกเราว่าตถาคต
ตถาคตย่อมกล่าว ย่อมแสดงซึ่งสิ่งใดในระหว่างนี้ สิ่งนั้นทั้งหมดย่อมเป็นอย่างนั้นทีเดียว ย่อมไม่เป็นอย่างอื่น เพราะฉะนั้นชาวโลกจึงเรียกว่า ตถาคต
กินเจ 2557 ความรู้เกี่ยวกับเทศกาลกินเจ
กินเจ 2557 เทศกาลกินเจมีความเป็นมาอย่างไร อาหารเจมีอะไรบ้าง กินเจได้บุญจริงหรือไม่ ถ้าไม่กินเเจ กินเนื้อสัตว์ แต่ไม่ได้ฆ่าเองจะบาปไหม
การประเคนของแด่พระภิกษุสงฆ์
การประเคน หมายถึง การมอบให้ด้วยความเคารพ ใช้ปฎิบัติต่อพระภิกษุสงฆ์เท่านั้น มีวินัยบัญญัติห้ามพระภิกษุสงฆ์รับ หรือหยิบสิ่งของมาขับฉันเอง
มงคลที่ ๓๓ เห็นอริยสัจ - พระปิณโฑลภารทวาชเถระ ตอนที่ ๔
พระเถระอธิบายให้ฟังว่า "ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระบรมศาสดาตรัสสอนไว้ว่า...มาเถิดภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงตั้งจิตว่า ผู้นี้เป็นมารดา ในหญิงผู้ที่พอเป็นมารดาได้ ส่วนหญิงผู้ที่พอเป็นพี่สาว น้องสาวและลูกสาว พวกเธอจงคิดว่าเป็นพี่สาว เป็นน้องสาวและเป็นลูกสาว...ด้วยวิธีการอย่างนี้แหละ จึงเป็นเหตุให้พระภิกษุหนุ่มทั้งหลาย ประพฤติพรหมจรรย์อันบริสุทธิ์บริบูรณ์อยู่ได้จนตลอดชีวิต"
เรียนรู้บริขาร
บรรพชา เดิมใช้หมายถึง การบวชเป็นนักบวชทั่วไป เช่น เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกบรรพชา สาวกบรรพชา และเรียกนักบวชเช่นนั้นว่า "บรรพชิต" แต่ในสมัยปัจจุบัน คำนี้ใช้เรียกเฉพาะการบวชเป็นสามเณรเท่านั้น ส่วนการบวชเป็นพระภิกษุเรียกว่า "อุปสมบท"
มหาเถรสมาคมตั้งพระพรหมสุธีเป็นเจ้าอาวาสวัดสระเกศ
มหาเถรสมาคมแต่งตั้งพระพรหมสุธี เป็นเจ้าอาวาสวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร ซึ่งเตรียมรอพิธีมอบพระบัญชาแต่งตั้ง หลังมีการแต่งตั้งผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชเสร็จเรียบร้อยแล้ว
บัณฑิตกับพหูสูตแตกต่างกันอย่างไร
พหูสูต หมายถึง ผู้ที่มีความรู้ความสามารถและนำความรู้ความสามารถไปใช้ในทางที่ดีอย่างถูกต้อง และเกิดประโยชน์กับสังคมด้วย