มงคลที่ ๑๙ งดเ้ว้นจากบาป - ผู้ก่อบาปกรรม ย่อมแพ้สงครามแห่งชีวิต
นายจุนทะ ผู้เลี้ยงชีพด้วยการขายเนื้อสุกร เขามีชีวิตอยู่กับการฆ่าสุกรมาตลอด ๕๕ ปี ทุกวันหลังจากที่ฆ่าสุกรแล้ว เขาจะแบ่งเนื้อไว้กินกันเองในครอบครัว และนำเนื้อส่วนที่เหลือไปขายเลี้ยงชีพ ตลอดชีวิตที่ผ่านมา เขาไม่เคยประกอบกุศลกรรมใดๆ ไม่ว่าจะเป็นการทำทาน รักษาศีล หรือเจริญภาวนา แม้พระบรมศาสดาจะประทับอยู่ในวัดเวฬุวัน ซึ่งอยู่ใกล้ๆ บ้าน เขาก็ไม่เคยไปวัด ไม่เคยถวายอาหารแม้เพียงข้าวทัพพีเดียว มีแต่ทำบาปกรรมมาตลอด
สโลวีเนียห้ามสูบบุหรี่
วันภาษาไทยแห่งชาติ 2567 ประวัติ ความสำคัญของวันภาษาไทยแห่งชาติ
วันภาษาไทยแห่งชาติ วันที่ 29 กรกฎาคมของทุกปี คือ วันที่รำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ในด้านภาษาไทย
ทีวี 6 ช่อง ขานรับพร้อมปรับปรุงการจัดระดับสื่อทีวี
ตาบอด...กลับมาเห็นได้
พอกลับไปบ้าน งานนี้เรียกได้ว่า อึ้ง...ทึ่งไปตามๆกัน ชาวบ้านแถวนั้นงงกันเป็นไก่ตาแตก ชวนกันมาดู มาหา ด้วยความสงสัยว่า ทำไม ทำอย่างไร แม่น้อยถึงมองเห็นได้เหมือนเดิม แม่น้อยก็ตอบไปว่า “ไปทำบุญที่วัดพระธรรมกายมา หลวงปู่...ท่านช่วยรักษาให้” ทำให้ชาวบ้านแถวนั้นเกิดความอัศจรรย์ใจ และรู้สึกศรัทธาตามไปด้วย
ชีวิตก็เป็นอย่างนี้ ตอนที่ 14
ตัวอย่างของอานิสงส์แห่งบุญโดยย่อ ที่เกิดจากการทุ่มเทสั่งสมบุญสร้างบารมีอย่างเต็มที่เต็มกำลังของอุบาสิกาผู้อุทิศชีวิตให้พระพุทธศาสนา
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - จุดมุ่งหมายสูงสุดของชีวิต
ด้วยจิตที่จะอนุเคราะห์พระราชา พระปัจเจกพุทธเจ้าจึงถวายพระพรว่า "ธรรมดานักโทษย่อมไม่ยินดีในเรือนจำ มีแต่ดิ้นรนแสวงหาหนทางออกจากเรือนจำนั้นอย่างเดียว ขอพระองค์จงเป็นเช่นนั้นเถิด จงเห็นภพทั้งหมดเหมือนเรือนจำเถิด โลกนี้ถูกความมืด คือ อวิชชา ห่อหุ้มไว้ ตราบใดที่สัตวโลกยังไม่ได้รับแสงสว่างจากพระสัทธรรม เปรียบเสมือนตกอยู่ในคุกมืด..."
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - ตบะธรรมชนะกิเลส
ท้าวสักกะทรงดำริว่า “ดาบสนี้มีอานุภาพมากจะทำให้เราเคลื่อนจากความเป็นท้าวสักกะ เราจะต้องร่วมมือกับพระเจ้าพาราณสี ทำลายตบะของดาบสนั้นให้ได้” ครั้นเวลาเที่ยงคืน จึงเสด็จไปยังห้องบรรทมของพระเจ้าพาราณสี แสดงอานุภาพของท้าวสักกะ พลางตรัสกับพระราชาว่า
สำรวมจิตเพื่อชีวิตที่สมบูรณ์
ผู้มีปัญญา พึงรักษาจิตที่เห็นได้ยาก ที่ละเอียดอ่อน มักตกไปในอารมณ์ที่น่าใคร่ เพราะว่าจิตที่คุ้มครองดีแล้ว นำสุขมาให้
มิจฉาสมาธิ