ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๓ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๓ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป (ข้อ ๓-๘)
บัณฑิตสามเณร ผู้บรรลุอรหันต์จากการฟังธรรมเพียง ๔ ข้อ
บัณฑิตสามเณรบวชตอนอายุได้ ๗ ขวบ สามารถสำเร็จอรหันต์ในวันที่ ๘ ของการบวช มารดาตั้งชื่อว่า "บัณฑิต" เหตุเพราะเมื่อสามเณรได้มาปฏิสนธิในครรภ์มารดา ก็ปรากฏว่าคนในบ้านเรือนมีแต่ความฉลาดปราดเปรื่องมากขึ้น
พระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร)
ชาติภูมิ พระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร) มีนามเดิมว่า ทอง นาคประเสริฐ เป็นชาวจังหวัดฉะเชิงเทราโดยกำเนิด เกิด ณ ตำบลบางพระ อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา เมื่อวันศุกร์ขึ้น 12 ค่ำ เดือนยี่ ปีมะแม ตรงกับวันที่ 2 มกราคม พ.ศ.2462
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๙ ( แก้ปัญหาเทพ )
ครั้งนี้ถึงตอนที่มโหสถบัณฑิตมารับราชการตามเดิมแล้ว และจะต้องตอบคำถามที่พระราชาทรงสดับมาจากเทวดา พระราชาได้ตรัสถามมโหสถบัณฑิตว่า เทวดาผู้สิงสถิตอยู่ที่เศวตฉัตร ได้ถามปัญหา ๔ ข้อ กับเรา เราไม่รู้คำตอบของปัญหา ๔ ข้อนั้น อาจารย์ทั้ง ๔ คน ก็ไม่รู้ เพราะฉะนั้น ท่านจงช่วยกล่าวแก้ปัญหาทั้ง ๔ ข้อ
เวลาใส่บาตรจำเป็นต้องถอดรองเท้าหรือไม่
พระภิกษุถอดรองเท้าบิณฑบาต เพราะเคารพในทานของผู้ตักบาตร ผู้ตักบาตรถอดรองเท้าในฐานะให้ความเคารพกับพระภิกษุ ซึ่งมีศีล 227 ข้อ การถอดรองเท้าเป็นการแสดงความเคารพ
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 28
ชาวบ้านปาจีนยวมัชฌคามได้อาศัยวิธีหุงต้มตามที่ มโหสถแนะนำ ในที่สุดก็สามารถช่วยกันหุงข้าวเปรี้ยวขึ้นมาได้สำเร็จตามพระราชประสงค์ ข้าวเปรี้ยวนั้นได้ถึงพร้อมด้วยองค์ ๘ ประการครบถ้วนบริบูรณ์ นั่นคือ ข้อ ๑ ในเมื่อไม่ให้หุงด้วยข้าวสาร ท่านสิริวัฒกะก็ให้จัดการหุงด้วยข้าวป่น และปลายข้าวที่ตำแหลกละเอียดแล้ว จึงไม่ชื่อว่าข้าวสาร
วัดพระธรรมกายซีแอตเติลสอนสมาธิเบื้องต้น
วัดพระธรรมกายซีแอตเติล ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้สอนสมาธิ ณ YWCA Downtown Vancouver ซึ่งเป็นองค์กรช่วยผู้หญิงยากไร้
World-PEC ของ ชาวปวาเก่อญอ
เช้าวันนี้ อากาศดี สดชื่นมากๆครับ มีหมอกลงปกคลุมกระทั่งถึง 9นาฬิกา เป็นสายหมอกสะอาดอากาศสดชื่นเย็นสบาย การสอบครั้งนี้ได้เกิดประวัติศาสตร์อันสำคัญที่ไม่เคยได้เกิดขึ้น ณ ดินแดนแห่งนี้มาก่อน เช่น มีหน่วยงานราชการทุกหน่วยงาน มาร่วมกันจัดการสอบด้วยความเบิกบาน แม้กระทั่งตำรวจตระเวนชายแดน ถือได้ว่าเป็นงานรวมใจพุทธบริษัททั้งสี่เลยครับ
แนวการสอนของวัดพระธรรมกาย
แนวการสอนของวัดพระธรรมกาย ยึดหลัก “อนุปุพพิกถา” ซึ่งเป็นแนวการสอนที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงใช้มากที่สุด เป็นการสอนไปตามลำดับ 5 ข้อ คือ
ที่ใดมีรัก ที่นั่นมีทุกข์ !? ของ 4 ผู้ช้ำรัก