บทสวดมนต์พาหุงมหากา พร้อมคำแปล
บทชัยมงคลคาถา (พาหุงมหากา) บทสวดชัยปริตร พร้อมคำแปล วิดีโอนำสวดพาหุง พร้อมภาพประกอบ
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - สารธรรมของชีวิต
มนุษย์ทุกคนที่เกิดมา ต่างแสวงหาทางหลุดพ้นจากความทุกข์ ซึ่งเป็นสาระที่แท้จริงสำหรับชีวิต แต่เนื่องจากปัญญาและวิจารณญาณที่แตกต่างกัน ทำให้มีการแสวงหากันไปต่างๆ นานา พบทั้งสิ่งที่ถูกต้องและไม่ถูกต้อง ยิ่งถ้าขาดกัลยาณมิตร ก็เหมือนกับคนเดินทางในที่มืด
พระพุทธคุณ ตอน ผู้รู้แจ้งโลก
บุคคลใดมีความเพียร ข่มขี่มาร ครอบงำมัจจุราชได้แล้ว ได้ถูกต้องธรรมอันเป็นที่สิ้นการเกิด บุคคลเช่นนั้นย่อมเป็นผู้รู้แจ้งโลก เป็นผู้มีปัญญาดี เป็นมุนี ผู้หมดความทะยานอยากในธรรมทั้งปวง
ความสงบสำรวมที่ตราตรึงทุกดวงใจ
แท้จริงแล้ว ศรัทธาในพระพุทธศาสนาไม่ได้หายไปไหน แต่ชุมชนมีพระสงฆ์อยู่น้อย ขาดผู้นำในการทำความดี ทำกิจกรรมดีๆ
เจาะจุดแข็ง-ทันโลกทันธรรม
เรื่องของจุดแข็งและจุกอ่อนในแต่ละคนนั้น ได้มีผู้ที่ศึกษาและถ่ายทอดความรู้ในเรื่องนี้ไว้หลายท่าน แต่ในที่นี้จะขอนำงานเขียนของ MARCUS BUCKINGHAM และ DONALD O. CLIFTON, Ph.D. มาคุย
น้ำมันหอมระเหย
ในชีวิตประจำวันเราสามารถใช้น้ำมันหอมระเหยได้หลายวิธี โดยปกติในแต่ละวันเราอาจจะมีคนมาเยี่ยมเยือน บางคนอาจจะมีโรคทางเดินหายใจ เพราะฉะนั้นโอกาสที่เราจะหายใจเอาโรคเข้ามาสู่บ้านเราได้ ดังนั้นน้ำมันหอมระเหยก็เป็นวิธีการหนึ่งในการที่จะทำการฆ่าเชื้อโรค
๔๐ วิธี เพื่อเข้าถึงพระธรรมกาย
ผู้ใดแล มีศรัทธาตั้งมั่นเกิดขึ้นแล้วแต่ รากแก้วคืออริยมรรค ประดิษฐานมั่นคง อันสมณพราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือผู้ใดผู้หนึ่งในโลก ไม่พรากไปได้ ควรเรียกผู้นั้นว่า เป็นบุตรเกิดแต่พระอุระ เกิดแต่พระโอฐของพระผู้มีพระภาค เป็นผู้เกิดแต่พระธรรม เป็นผู้ที่พระธรรมเนรมิตขึ้น เป็นผู้รับมรดกพระธรรม ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะคำว่า ธรรมกาย ก็ดี ว่าพรหมกาย ก็ดี ว่าธรรมภูต ก็ดี ว่า พรหมภูต ก็ดี เป็นชื่อของตถาคต
นางกวัก-ที่นี่มีคำตอบ
อยากรู้เรื่องนางกวัก อ่านที่นี่..กุมารีทองเมื่อโตขึ้น กลายเป็นนางกวักหรือไม่?,เขาชอบนั่งท้าวแขนและกวักมือจริงๆ ไหม
คุณธรรมพื้นฐาน 3
คุณธรรมพื้นฐาน 3 คุณธรรมความดีต่างๆ จะเกิดขึ้นได้ จำเป็นต้องมีคุณธรรมพื้นฐาน 3 รองรับอย่างมั่นคงแข็งแรงก่อน ได้แก่ 1. ความมีวินัย 2. ความอดทน 3. ความเคารพ
มงคลที่ ๒๘ เป็นคนว่าง่าย - การฝึกตน บนเส้นทางอริยะ
ในสมัยพุทธกาล พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสถามครูฝึกม้าชื่อ เกสี ที่ไปเข้าเฝ้าพระองค์ว่า “ดูก่อนเกสี ใครๆก็รู้ว่าท่านเป็นครูฝึกม้าฝีมือดีคนหนึ่ง ท่านฝึกม้าอย่างไรเล่า” นายเกสีกราบทูลว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ การฝึกม้าของข้าพระองค์มี ๓วิธี คือ วิธีแรก ข้าพระองค์จะฝึกด้วยวิธีละม่อม ค่อยเป็นค่อยไป วิธีที่สอง ฝึกด้วยวิธีรุนแรง และวิธีสุดท้ายฝึกผสมกันทั้งสองวิธี”