มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - มิตรภาพที่ยั่งยืน
พระโพธิสัตว์รู้ว่า นางนกกระเรียนนี้คงน้อยใจและกลัวความผิด จึงปลอบใจโดยตรัสว่า "ผู้ ใดก็ตาม เมื่อผู้อื่นทำกรรมอันชั่วร้ายแก่ตนและตัวเองก็ได้ทำตอบแทนไปแล้ว ก็ย่อมจะรู้สึกว่าเราทำตอบแทนแล้ว ขอให้เวรนั้นสงบลงด้วยอาการเพียงเท่านี้เถิด ท่านจงอยู่ในเมืองนี้ต่อไปเถิด อย่าไปเลย"
ทำไมจึงฉันมื้อเดียว
การฉันอาหารมื้อเดียว จะมีอาพาธน้อย ลำบากกายน้อย มีกำลัง และอยู่อย่างผาสุข
ผู้แทนมูลนิธิธรรมกาย นำสื่อธรรมะเข้าสวัสดีปีใหม่
ผู้แทนมูลนิธิธรรมกาย นำสื่อธรรมะเข้าสวัสดีปีใหม่กับสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่อโทรทัศน์
ศีลภรตคืออะไร ต่างจากศีลห้าอย่างไร? - หลวงพ่อตอบปัญหา
ศีลภรตคืออะไร ต่างจากศีลห้าอย่างไร?,การรักษาศีลแปดคือการประพฤติพรหมจรรย์ ถ้ารักษาศีลข้อสามได้ดี ข้ออื่นเช่น ข้อหก เจ็ด แปด ไม่ต้องรักษาก็ได้ ใช่หรือไม่?,ทำไมต้องนั่งสมาธิ? สมาธิดีอย่างไร?
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 166
มโหสถระดมคนงานราว ๖,๐๐๐คน ให้ช่วยกันขุดกรวดทรายและดิน ขนออกมาด้วยกระทงหนังขนาดใหญ่ แล้วเทลงในแม่น้ำจนน้ำขุ่นคลัก แม่น้ำนั้นก็ไหลผ่านไปถึงปัญจาละนคร ชาวเมืองต่างได้รับความเดือดร้อน ก็พากันบ่นอุบว่า “โธ่เอ๋ย ไม่น่าเลย ตั้งแต่มโหสถมานี่ ยังไม่ทันไร ก็สร้างความลำบากให้พวกเราเสียแล้ว น้ำขุ่นคลักอย่างนี้ พวกเราจะไปหาน้ำใสๆ ดื่มกินกันได้ที่ไหน”
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - ตบะธรรมชนะกิเลส
ท้าวสักกะทรงดำริว่า “ดาบสนี้มีอานุภาพมากจะทำให้เราเคลื่อนจากความเป็นท้าวสักกะ เราจะต้องร่วมมือกับพระเจ้าพาราณสี ทำลายตบะของดาบสนั้นให้ได้” ครั้นเวลาเที่ยงคืน จึงเสด็จไปยังห้องบรรทมของพระเจ้าพาราณสี แสดงอานุภาพของท้าวสักกะ พลางตรัสกับพระราชาว่า
พุทธพยากรณ์ ๑
พระพุทธชินเจ้ามีพระวาจาไม่เป็นสอง มีพระวาจาไม่เปล่าประโยชน์ พระพุทธเจ้าไม่ตรัสคำไม่จริง เราจักได้เป็นพระพุทธเจ้าแน่นอน เปรียบเหมือนก้อนดินที่โยนขึ้นไปบนอากาศ ย่อมตกลงมาสู่พื้นดินอย่างแน่นอน
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - ทางแห่งความเสื่อม
การดำรงตนให้หนักแน่น มั่นคงอยู่บนความเป็นมงคลนั้น ย่อมนำสิ่งที่ดีมาให้กับชีวิตของเรา มงคล แปลว่า เหตุแห่งความเจริญ หากรู้เช่นนี้แล้ว เราจะเป็นผู้ที่ห่างไกลจากเหตุแห่งความเสื่อม ทางแห่งความเสื่อมนี้ เคยมีคนสงสัยเหมือนกันว่า ผู้ที่เสื่อมกับผู้ที่เจริญนั้น พวกเขาดำรงตนอยู่บนเส้นทางเช่นไร
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 59
พระเจ้าวิเทหราชทรงสดับแล้ว ก็ทรงหนักพระทัยอยู่มิใช่น้อย เพราะตัวอย่างของโครวินทเศรษฐีที่ท่านเสนกะยกอ้างมานั้น พระองค์ก็ทรงทราบดี แม้นใครๆก็รู้จักทั่วบ้านทั่วเมือง เป็นข้อยืนยันมั่นคงว่า บุคคลผู้ไม่มีศิลปะ ไม่มีพวกพ้อง แม้รูปร่างจะไม่สมประกอบก็ตามที แต่ขอให้มีทรัพย์เพียงอย่างเดียวเท่านั้น อำนาจของทรัพย์ย่อมอำนวยสุขให้อย่างมหาศาล