โทษของคนมักโกรธ
คนโกรธมีผิวพรรณทราม ย่อมนอนเป็นทุกข์ ถือเอาสิ่งที่เป็นประโยชน์แล้ว กลับปฏิบัติสิ่งอันไม่เป็นประโยชน์ ทำปาณาติบาตด้วยกาย และวาจา ย่อมถึงความเสื่อมทรัพย์ ผู้มัวเมาเพราะความโกรธ ย่อมถึงความไม่มียศ ญาติมิตรและสหาย ย่อมเว้นคนโกรธเสียห่างไกล คนผู้โกรธย่อมไม่รู้จักความเจริญ ทำจิตให้กำเริบ ภัยที่เกิดมาจากภายในนั้น คนผู้โกรธย่อมไม่รู้สึก คนโกรธย่อมไม่รู้อรรถ ไม่เห็นธรรม ความโกรธย่อมครอบงำนรชนในขณะใด ความมืดตื้อย่อมมีในขณะนั้น คนผู้โกรธย่อมก่อกรรมที่ทำได้ยากเหมือนทำได้ง่าย ภายหลังเมื่อหายโกรธแล้ว เขาย่อมเดือดร้อนเหมือนถูกไฟไหม้
พุทธปาฏิหาริย์ ๓,๕๐๐ อย่าง
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัตว์ทั้งหลายมีประมาณเท่าใด ไม่มีเท้าก็ดี ๒ เท้าก็ดี ๔ เท้าก็ดี มีเท้ามากก็ดี มีรูปก็ดี ไม่มีรูปก็ดี มีสัญญาก็ดี ไม่มีสัญญาก็ดี มีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่ พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า บัณฑิตกล่าวว่าเป็นยอดของสัตว์เหล่านั้น
พระอรหันต์หาได้ยาก
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าบรมครูของเรา ทรงเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานแล้ว มีความบริสุทธิ์หมดจดจากกิเลสอาสวะทั้งปวง ได้เข้าถึงฝั่งแห่งพระนิพพานอันเป็นแดนเกษมจากโยคะ ที่ความทุกข์ใดๆ เข้าไปไม่ถึง จึงมีแต่
พระอรหันต์มีจริง
พระอริยบุคคลเหล่าใด ในศาสนาของพระพุทธเจ้า ปฏิบัติดีแล้ว มีใจมั่นคง ไม่หวั่นไหว ปราศจากความอาลัยทั้งปวง พระอริยบุคคลเหล่านั้น บรรลุพระอรหันต์แล้ว เข้าถึงพระนิพพาน เสวยสุขอยู่ รัตนะนี้เป็นรัตนะอันประณีตในพระอริยสงฆ์ ด้วยสัจจะวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ท่านทั้งหลาย
นิพพานคือเป้าหมายของชีวิต
ฐานะที่บุคคลเห็นได้ยาก ชื่อว่านิพพาน ไม่มีตัณหา นิพพานนั้นเป็นธรรมจริงแท้ ไม่เห็นได้โดยง่ายเลย ตัณหาอันบุคคลแทงตลอดแล้ว กิเลสเครื่องกังวลย่อมไม่มีแก่บุคคลผู้รู้ ผู้เห็นอยู่
กิเลส เพื่อนซี้ที่ไม่รู้จัก
กิเลส เป็นศัพท์เฉพาะ มีอยู่ในพระไตรปิฎกเท่านั้น ผู้ที่เห็นกิเลสเป็นท่านแรก คือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
เหตุใดกระแสเมตตาของลูกและนักเรียนจึงสามารถหยุดฝูงผึ้งได้
เหตุใดกระแสเมตตาของลูกและนักเรียนจึงสามารถหยุดฝูงผึ้งได้ เหตุใดบางกรณีการแผ่เมตตาก็ไม่ประสบผลสำเร็จ มีหลักการแผ่เมตตาอย่างไรจึงจะสัมฤทธิผลทุกครั้งคะ
อาทิตตปริยายสูตร
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน ก็อะไรเล่าชื่อว่าสิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักษุเป็นของร้อน รูปทั้งหลายเป็นของร้อน วิญญาณอาศัยจักษุเป็นของร้อน สัมผัสอาศัยจักษุเป็นของร้อน ความเสวยอารมณ์เป็นสุขเป็นทุกข์ หรือมิใช่สุขมิใช่ทุกข์ ที่เกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัสเป็นปัจจัย แม้นั้นก็เป็นของร้อน
ภูมิของพระสกทาคามี
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมณะที่ ๒ เป็นไฉน ภิกษุในศาสนานี้เป็นสกิทาคามีเพราะสังโยชน์ ๓ สิ้นไป เพราะความที่ราคะ โทสะ และโมหะเบาบาง จะกลับมาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ก็จะทำที่สุดแห่งทุกข์ได้ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้คือสมณะที่ ๒ ในพระศาสนา
การแก้คำกล่าวหาแบบพุทธวิธี
ภิกษุใด ชนะหนามคือกาม ชนะการด่า การฆ่า และ การจองจำได้ ภิกษุนั้น เป็นผู้มั่นคงไม่หวั่นไหวดุจภูเขา ย่อมไม่หวั่นไหวในสุข และทุกข์