มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - ให้บ่อยๆ รวยบ่อยๆ
ยาจกยังต้องขอบ่อยๆ ถ้าไม่ขอก็อด คำว่ายาจกคือคนขอทาน จะแตกต่างจากคำว่า สมณะ ซึ่งเป็นการขอแบบอริยะ ที่เป็นเนื้อนาบุญแก่ผู้ให้ทาน บุคคลสองประเภทนี้มีข้อวัตรปฏิบัติที่แตกต่างกันราวฟ้ากับดิน คุณธรรมก็ต่างกันเหมือน ก้อนกรวดเทียบกับภูเขา พวกยาจกจะขอด้วยการแสดงอาการอัน น่าสงสาร
มงคลที่ ๓๓ เห็นอริยสัจ - ผู้ดื่มรสแห่งธรรม
ภิกษุผู้ที่เล่าเรียนพระปริยัติธรรมเพียงอย่างเดียว ไม่สามารถตอบได้แม้แต่ข้อเดียว จึงนั่งก้มหน้านิ่งอยู่ ส่วนภิกษุผู้ปฏิบัติธรรมจนเป็นพระอรหันต์ สามารถตอบปัญหาธรรมได้ทุกข้อ อย่างแจ่มแจ้งฉะฉานไม่มีติดขัด พระพุทธองค์จึงทรงสรรเสริญ ชื่นชม อนุโมทนาสาธุการพระเถระ
มงคลที่ ๒๙ เห็นสมณะ - เพียงพบเห็นก็เป็นมงคล
วันรุ่งขึ้น เขาได้จัดแจงตระเตรียมอาหารอย่างดี ไปหาพระเถระตั้งแต่เช้า และได้ยืนอยู่ในที่ท้ายสุดของหมู่ชน เขามองดูพระเถระแต่ไกล ยืนไหว้ท่านอยู่ตรงนั้น จากนั้นจึงเดินเข้าไปใกล้ท่านด้วยความปีติยินดี จับข้อเท้าของพระเถระไว้แน่น ไหว้ด้วยความนอบน้อมอีกครั้ง พร้อมกับกล่าวว่า “พระคุณเจ้าสูงมากนะขอรับ”
พิธีมุทิตาพระมหาเถระ และพระเถระ ประจำปี 2554
6 พฤศจิกายน พ.ศ.2554 ขอนอบน้อมแด่พระมหาเถระผู้แกล้วกล้า และพระเถระผู้องอาจผู้เปรียบประดุจแสงแห่งธรรมอันอำไพ สละชีวิตพลีอุทิศถวายไว้ในพระพุทธศาสนาวิชชาธรรมกาย ด้วยมโนปณิธานที่จะยอยกพระพุทธศาสนาสู่ใจมหาชน
The Sight of a True Monk#1
In an outward happiness. For example: seeing beautiful artwork, listening to good music, smelling of the fragrance, eating good food, touching of the softness etc
ภูมิของพระสกทาคามี
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมณะที่ ๒ เป็นไฉน ภิกษุในศาสนานี้เป็นสกิทาคามีเพราะสังโยชน์ ๓ สิ้นไป เพราะความที่ราคะ โทสะ และโมหะเบาบาง จะกลับมาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ก็จะทำที่สุดแห่งทุกข์ได้ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้คือสมณะที่ ๒ ในพระศาสนา
ธุดงค์ธรรมชัย ... การเห็นสมณะเป็นมงคลอย่างยิ่ง
สมณะแปลตรงตัวได้ว่า ผู้สงบ (หมายถึงผู้อยู่ในสมณเพศ) คุณสมบัติของสมณะประกอบด้วย 3 อย่างคือ 1.สงบกาย คือมีความสำรวมในการกระทำทุกอย่าง รวมถึงกิริยา มรรยาท ตามหลักศีลธรรม ... 2.สงบวาจา คือการพูดจาให้อยู่ในกรอบของความพอดี มีความสุภาพสงบเสงี่ยมในคำพูดและภาษาที่ใช้ เป็นไปตามข้อปฏิบัติ ประเพณี ... 3.สงบใจ คือการทำใจให้สงบปราศจากกิเลสครอบงำ ไม่ว่าจะเป็น โลภ โกรธ หลง หรือความพยาบาทใดๆ ตั้งมั่นอยู่ในสมาธิภาวนา
ขอใช้ชีวิตสมณะสร้างบารมีตลอดไป
สมณะ แปลว่า ผู้สงบ ผู้มีบาปสงบระงับแล้ว หมายถึงพระสงฆ์ หมายรวมถึงพระอริยบุคคลผู้สิ้นกิเลสแล้วและผู้ปฏิบัติเพื่อความเป็นอริยบุคคล
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 19
นารทดาบสต้องการให้พระโพธิสัตว์สมาทานมั่น จึงถวายข้อคิดว่า “พระองค์ เพียงแต่ทรงเพศบรรพชิตนี้ จะสำคัญว่า เราข้ามพ้นกิเลสแล้วหาได้ไม่ กรรมคือกิเลสนี้ ไม่ใช่ว่าจะพึงข้ามได้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ เพราะยังมีอันตรายอยู่มาก”
ปลื้มกว่านี้ไม่มีอีกแล้ว…