มโนชชาดก-ชาดกว่าด้วยคบคนชั่วไม่ได้ความสุขที่ยั่งยืน
สมัยนั้นมีสหายสองคนผู้เป็นชาวเมืองราชคฤห์ ในสองสหายนั้น คนหนึ่งบวชในสำนักของพระศาสดาอีกคนหนึ่งบวชในสำนักของพระเทวทัต สหายทั้งสองนั้นย่อมได้พบเห็นกันและกันอยู่เสมอ แม้ไปวิหารก็ยังได้พบเห็นกัน ภิกษุที่ออกบวชในสำนักพระศาสดาต้องปฏิบัติกิจสงฆ์ออกบิณฑบาต ปฏิบัติธรรมอยู่เป็นนิจ ส่วนภิกษุที่บวชในสำนักของพระเทวทัตนั้นไม่ต้องออกไปบิณฑบาต เพราะจะมีคนจัดสำรับไว้ให้ในโรงฉันเรียบร้อย
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๑๐)
การได้อัตภาพเป็นมนุษย์ นับเป็นความโชคดีที่สุดในโลก... เพราะจะทำให้มีโอกาสได้สั่งสมความดีสร้างบารมีให้ยิ่งๆขึ้นไป
กากาติชาดก-ชาดกว่าด้วยนางกากี
ในพุทธกาลสมัย ครั้งที่พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสรู้อนุตรสัมมาสัมโพธิญาณแล้วนั้น พระพุทธองค์มีพระประสงค์จะปักฐานพระพุทธศาสนาให้มั่นคง จึงได้เสด็จจาริกออกเผยแผ่พระธรรม โปรดแก่เหล่าสรรพสัตว์ทั้งหลายยังดินแดนน้อยใหญ่ชมพูทวีป
จันทกุมาร บำเพ็ญขันติบารมี (๒)
ผู้ประกอบด้วยความอดทนย่อมไม่หลงทำกาละ เมื่อแตกกายทำลายขันธ์ ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอนที่ ๔ ชนะสัจจกนิครนถ์)
ความเห็นถูกจะเป็นต้นทางของความคิดถูก ซึ่งจะทำให้ความคิดก็เริ่มมีระบบระเบียบแบบแผนที่ดี มีความคิดในทางสร้างสรรค์ คิดที่จะพ้นทุกข์และให้พบสุขที่แท้จริง
ชัยชนะครั้งที่ ๒ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอน ชนะอาฬวกยักษ์)
อายตนนิพพานเป็นธรรมที่ละเอียดลึกซึ้ง ต้องเป็นผู้ที่มีใจหยุดนิ่งอย่างสมบูรณ์แล้วเท่านั้น จึงจะเข้าใจได้แจ่มแจ้ง ปัจจุบันแม้หลายท่านจะมีความเห็น
พระอรหันต์หาได้ยาก
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าบรมครูของเรา ทรงเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานแล้ว มีความบริสุทธิ์หมดจดจากกิเลสอาสวะทั้งปวง ได้เข้าถึงฝั่งแห่งพระนิพพานอันเป็นแดนเกษมจากโยคะ ที่ความทุกข์ใดๆ เข้าไปไม่ถึง จึงมีแต่
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 15 พระนางปชาบดีโคตมีถวายผ้าสาฎก
พระนางปชาบดีโคตมีทรงรู้สึกเสียพระทัยเป็นอย่างมาก เพราะผู้ที่ได้รับผ้าสาฎกใหม่เนื้อดีนั้น กลับกลายเป็นพระภิกษุที่เพิ่งบวชใหม่ชื่อว่า "พระอชิตะ"
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 14 อานิสงส์แห่งปาฏิปุคคลิกทาน
ปาฏิปุคคลิกทาน (การถวายทานที่เฉพาะเจาะจง) จะมีอานิสงส์น้อยกว่าการถวายทานแบบสังฆทานเป็นอย่างมาก
บุญไม่มีขายอยากได้ต้องทำเอง
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตรัสพระคาถาว่า “ปุญฺญญฺ เจ ปุริโส กยิรา กยิราเถนํ ปุนปฺปุนํ ตมฺหิ ฉนฺทํ กยิราถ สุโข ปุญฺญสฺส อุจฺจโย” แปลความว่า ถ้าบุรุษพึงทำบุญไซร้, พึงทำบุญนั้นบ่อยๆ พึงทำความพอใจในบุญนั้น, เพราะว่าความสั่งสมบุญทำให้เกิดสุข.